วิจัย

ลำดับ รายการผลงาน แบบยื่นขอใช้ประโยชน์จากงานวิจัย
1 Phetrasuwan, S. & (Project Leader).   Development of Home-based Augmented Reality Social Story Training Modules For Children with Autism Spectrum Disorder in South Africa, Thailand, and Taiwan . Worldwide Universities Network - Research Development Fund. 2567.
2 Kesornsri, S. & (Project Leader).   การพัฒนาโปรแกรมจิตวิทยาเชิงบวกบนอินเทอร์เน็ตเพื่อส่งเสริมสุขภาวะทางจิตใจ ดัชนีพฤฒพลังผู้สูงอายุและลดภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุโรคไตเรื้อรัง . สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. 2567.
3 Nuampa, S. & (Project Leader).   "การพัฒนาแอปพิลเคชันทางโทรศัพท์มือถือเพื่อส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ และการเรียนรู้การตอบสนองความต้องการของทารกสำหรับสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่นไทย (โครงการต่อเนื่องปีที่ 2) . . 2567.
4 Vongsirimas, N. & (Project Leader).   การพัฒนารูปแบบการบริการป้องกันภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่นโดยพยาบาลผ่านระบบบริการของคลินิกการพยาบาลและการผดุงครรภ์ และการวิเคราะห์จุดคุ้มทุนของการให้บริการ . สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข. 2567.
5 Poungkaew, A. & (Project Leader).   “Veralet”: หม้อนอนและระบบติดตามการปัสสาวะบนเตียง . China Medical Board Inc.. 2567.
6 Poungkaew, A. & (Project Leader).   “Veralet”: หม้อนอนและระบบติดตามการปัสสาวะบนเตียง . . 2567.
7 Ruksakulpiwat, S. & (Project Leader).   Utilizing a Qualitative Approach for Pre-Testing the New Stroke Risk Screening Scales (SRSS) Questions . . 2567.
8 Srimoragot, M. & (Project Leader).   การจัดการเรียนการสอนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่รูปแบบผสมผสานผ่านการเรียนรู้ด้วยการนำตนเองของนักศึกษาพยาบาล: การศึกษาเชิงผสมผสาน . China Medical Board Inc.. 2567.
9 Asdornwised, U. & (Project Leader).   การพัฒนารูปแบบการดูแล ป้องกัน ควบคุมความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน ร่วมกับการใช้ระบบ Thai digital health โดยมีพยาบาลเป็นแกนนำร่วมกับทีมสหสาขาวิชาชีพ . . 2567.
10 สุทธิศักดิ์ & ศรีสวัสดิ์ (หัวหน้าโครงการวิจัย).   การวิเคราะห์ข้อมูลบรรณมิติของนักวิจัย และบทความวิจัยที่เผยแพร่ บนฐานข้อมูล Scopus เพื่อศึกษาแนวทางการเพิ่มค่าอ้างอิงบทความ วิจัยของมหาวิทยาลัยวิจัยของประเทศไทย: ศึกษาเชิงเปรียบเทียบ ระหว่างมหาวิทยาลัยไทยและมาเลเซีย . ทุนสนับสนุนด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม. 2567.
11 Srimoragot, M. & (Project Leader).   การศึกษาสถานการณ์ และปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพการนอนหลับ ภาวะซึมเศร้า และผลลัพธ์การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในมารดาหลังคลอด: การศึกษาเชิงผสมผสาน . . 2567.
12 Kanjanakaew, A. & (Project Leader).   ประสบการณ์การเรียนการสอนภาคปฏิบัติผสานรูปแบบพยาบาลพี่เลี้ยงในการฝึกปฏิบัติการพยาบาลผดุงครรภ์ของนักศึกษาพยาบาลและพยาบาลผดุงครรภ์: การศึกษาคุณภาพเชิงบรรยาย . China Medical Board Inc.. 2567.
13 Surathum, S. & (Project Leader).   ประสิทธิผลของการให้บริการสุขภาพทางไกล ต่อความรู้ การจัดการตนเองด้านเบาหวานและคุณภาพชีวิตผู้เป็นเบาหวานชนิดที่ ๒ อายุ ๑๐-๒๕ ปี . China Medical Board Inc.. 2567.
14 จันทิมา & ฤกษ์เลื่อนฤทธิ์ (หัวหน้าโครงการวิจัย).   ผลของโปรแกรมสูงวัยอย่างมีพลังต่อภาวะสุขภาพ ความสามารถในการเข้าถึงและใช้สื่อออนไลน์ และรายได้จากการเป็นมัคคุเทศก์ท่องเที่ยวเชิงสุขภาพของผู้สูงอายุในจังหวัดกรุงเทพมหานคร . ทุนสนับสนุนด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม. 2567.
15 Lekdamrongkul, P. & (Project Leader).   Exercising together: A randomized controlled trial of partnered exercise training on the health of couples coping with cancer . National Cancer Institute. 2565.
16 พรนภา & ตั้งสุขสันต์ (หัวหน้าโครงการวิจัย).   การพัฒนากลยุทธ์เพื่อขับเคลื่อนความรอบรู้ด้านโภชนาการระหว่างตั้งครรภ์ 270 วันแรกแห่งชีวิต: ระยะที่ 1 วิเคราะห์สถานการณ์ . เงินรายได้ มหาวิทยาลัยมหิดล. 2565.
17 Kasemsuk, W. (Project Leader), Meekusol, S. & (Project Leader).   การพัฒนารูปแบบการบริบาล และการรักษาพยาบาลผู้สูงอายุระดับปฐมภูมิในสังคมปกติวิถีใหม่: พื้นที่เขตบริการสุขภาพที่ 5 และ 10 . . 2565.
18 สาธิมา & สุระธรรม (หัวหน้าโครงการวิจัย).   การพัฒนาและการประเมินประสิทธิผลของระบบการดูแลสุขภาพทางไกลต่อการจัดการตนเองด้านเบาหวานและส่งเสริมคุณภาพชีวิตในผู้เป็นเบาหวานชนิดที่ 1 . เงินรายได้ มหาวิทยาลัยมหิดล. 2565.
19 ศศิธารา & น่วมภา (หัวหน้าโครงการวิจัย).   การพัฒนาแอปพลิเคชันทางโทรศัพท์มือถือเพื่อส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ และการเรียนรู้การตอบสนองความต้องการของทารกสำหรับสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่นไทย . เงินรายได้ มหาวิทยาลัยมหิดล. 2565.
20 นันทกานต์ & มณีจักร (หัวหน้าโครงการวิจัย).   การพัฒนาแอปพลิเคชันผู้ป่วยมาตรฐานบนเว็บเพื่อส่งเสริมสมรรถนะและทัศนคติการฝึกปฏิบัติทักษะทางการพยาบาล . เงินรายได้ มหาวิทยาลัยมหิดล. 2565.
21 พิเชต & วงรอต (หัวหน้าโครงการวิจัย).   การวิเคราะห์ต้นทุนของระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินนอกโรงพยาบาลในประเทศไทย . สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ. 2565.
22 เอมพร & รตินธร (หัวหน้าโครงการวิจัย).   การศึกษาผลการจัดการเรียนการสอนภาคปฏิบัติการพยาบาลมารดาทารกและการผดุงครรภ์โดยใช้สถานการณ์เสมือนจริงในนักศึกษาพยาบาล . กองทุน ซี.เอ็ม.บี คณะพยาบาลศาสตร์. 2565.
23 รุ่งทิพย์ & กาศักดิ์ (หัวหน้าโครงการวิจัย).   การศึกษาผลการจัดการเรียนการสอนภาคปฏิบัติการพยาบาลมารดาทารกและการผดุงครรภ์โดยใช้สถานการณ์เสมือนจริงในนักศึกษาพยาบาล . กองทุน ซี.เอ็ม.บี คณะพยาบาลศาสตร์. 2565.
24 Rungamornrat, S. & (Project Leader).   โครงการพัฒนารูปแบบดูแลเด็กปฐมวัยและยกระดับคุณภาพศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน กรุงเทพมหานคร . . 2565.
25 Olanratmanee, B. (Project Leader), Jewpattanakul, Y. (Project Leader) & Sitthimongkol, Y.   ต้นแบบชุมชนร่วมพลัง ร่วมใจรองรับผู้สูงวัยเขตเมือง . สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. 2565.
26 เกศศิริ & วงษ์คงคำ (หัวหน้าโครงการวิจัย).   ปัจจัยทำนายคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดแดงใหญ่ในช่องท้องโป่งพองหลังผ่าตัด . กองทุน ซี.เอ็ม.บี คณะพยาบาลศาสตร์. 2565.
27 ภิญญาพัชญ์ & กิตติ์ธัญญธีรกุล (หัวหน้าโครงการวิจัย).   ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเกิดภาวะบกพร่องของการรู้คิดในผู้ป่วยหลังผ่าตัดเนื้องอกในสมองการศึกษาแบบ case-control . กองทุน ซี.เอ็ม.บี คณะพยาบาลศาสตร์. 2565.
28 Sitthimongkol, Y. & (Project Leader).   โปรแกรมการฝึกอบรมการให้คำปรึกษาทางพันธุศาสตร์ . สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข. 2565.
29 Poungkaew, A.   แพลตฟอร์มการจัดการและติดตามการใช้ยาวอร์ฟารินทางไกลสำหรับผู้สูงอายุโดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัล . . 2565.
30 เบ็ญจมาศ & โอฬารรัตน์มณี (หัวหน้าโครงการวิจัย).   การวิเคราะห์สถานการณ์การป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 หรือโควิด 19 ตามแนวทางการพัฒนาทั้งระบบของโรงเรียนระดับประถมถึงมัธยมศึกษาในเขตเมือง . มูลนิธิแพธทูเฮลท์. 2564.
31 พุทธิราภรณ์ & หังสวนัส (หัวหน้าโครงการวิจัย).   การศึกษาผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้แนวคิดการเรียนรู้แบบร่วมมือผ่านระบบออนไลน์สำหรับนักศึกษาพยาบาล: การพยาบาลในระยะคลอด . กองทุน ซี.เอ็ม.บี คณะพยาบาลศาสตร์. 2564.
32 อัจฉราพร & สี่หิรัญวงศ์ (หัวหน้าโครงการวิจัย).   การสำรวจระดับชาติการใช้บุหรี่ไฟฟ้าและปัจจัยที่เกี่ยวข้องในเยาวชนไทย . ศูนย์วิจัยและจัดการความรู้เพื่อการควบคุมยาสูบ. 2564.
33 เสาวลักษณ์ & สุขพัฒนศรีกุล (หัวหน้าโครงการวิจัย).   โครงการการพัฒนา​ความรอบรู้​ด้านสุขภาพ​สำหรับผู้สูงอายุ​โรค​ความดันโลหิต​สูง​ใน​ชุมชน . บางกอกน้อยโมเดล. 2564.
34 สมสิริ & รุ่งอมรรัตน์ (หัวหน้าโครงการวิจัย).   โครงการติดตามและประเมินการขยายผลและพัฒนาความช่วยเหลือกลุ่มเด็กปฐมวัยยากจนในสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยและเด็กปฐมวัยนอกระบบ ในกรุงเทพมหานคร . สำนักงานกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา. 2564.
35 เบ็ญจมาศ & โอฬารรัตน์มณี (หัวหน้าโครงการวิจัย).   โครงการรูปแบบการพัฒนาต้นแบบการจัดการเรียนรู้เรื่องเพศวิถีและการจัดตั้งคลินิกการให้การปรึกษาในโรงเรียนมัธยมศึกษาเขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร . บางกอกน้อยโมเดล. 2564.
36 สุดารัตน์ & สุวรรณเทวะคุปต์ (หัวหน้าโครงการวิจัย).   ประสิทธิผลน้ำแข็งหวานเย็นต่อความเจ็บปวดของเด็กวัยเรียนขณะเจาะเลือดทางหลอดเลือดดำ . บริษัทน้ำตาลมิตรผล จำกัด. 2564.
37 ชลธิรา & เรียงคำ (หัวหน้าโครงการวิจัย).   ปัจจัยกำหนดการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดในผู้เป็นเบาหวานชนิดที่ ๒ ที่ได้รับการรักษาด้วยการฉีดอินซูลิน . กองทุน ซี.เอ็ม.บี คณะพยาบาลศาสตร์. 2564.
38 รุ่งนภา & รู้ชอบ (หัวหน้าโครงการวิจัย).   ปัจจัยด้านร่างกายและจิตสังคมของมารดา ดัชนีชี้วัดทางชีวภาพและภาวะแทรกซ้อนในการตั้งครรภ์ . เงินรายได้ มหาวิทยาลัยมหิดล. 2564.
39 จรรยา & จันทร์ผ่อง (หัวหน้าโครงการวิจัย).   ปัจจัยทำนายคุณภาพชีวิตสตรีที่มีภาวะหมดประจำเดือนจากการผ่าตัด . กองทุน ซี.เอ็ม.บี คณะพยาบาลศาสตร์. 2564.
40 ทิวาภรณ์ & เฉลิมพิชัย (หัวหน้าโครงการวิจัย).   ปัจจัยที่มีผลต่อการฝากครรภ์ตามนัดของสตรีตั้งครรภ์ในช่วงที่มีการระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) . กองทุน ซี.เอ็ม.บี คณะพยาบาลศาสตร์. 2564.
41 สุดารัตน์ & สุวรรณเทวะคุปต์ (หัวหน้าโครงการวิจัย).   เปรียบเทียบผลของอัตราเร็วการฉีดยาเข้าชั้นกล้ามเนื้อต่อความปวดของทารกแรกเกิดที่ได้รับการฉีดวัคซีนตับอักเสบบี (ขอทุนเพิ่ม) . กองทุน ซี.เอ็ม.บี คณะพยาบาลศาสตร์. 2564.
42 ศศิธารา & น่วมภา (หัวหน้าโครงการวิจัย).   พฤติกรรมและประสบการณ์การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ของมารดาหลังคลอดที่เผชิญสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่าสายพันธุ์ใหม่ 2019: การวิจัยแบบพหุวิธี . กองทุน ซี.เอ็ม.บี คณะพยาบาลศาสตร์. 2564.
43 Koshakri, R. (Project Leader), Rerkluenrit, J., Kasemsuk, W. & Meekusol, S.   การจัดการความรู้เรื่องการท่องเที่ยวสุขภาพโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา . สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. 2563.
44 เสาวลักษณ์ & สุขพัฒนศรีกุล (หัวหน้าโครงการวิจัย).   การจัดการตนเองสำหรับผู้สูงอายุโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในชุมชน . บางกอกน้อยโมเดล. 2563.
45 Sriyuktasuth, A. (Project Leader), ปิยะธิดา จึงสมาน & อัษฎารัตน์ คูรัตน์.   การดูแลสุขภาพทางไกลสำหรับการล้างไตทางช่องท้อง: การพัฒนาและทดสอบประสิทธิผลของระบบเพื่อการเพิ่มผลลัพธ์ทางสุขภาพในผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่อง (ช่วงเวลาที่ 2) . สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข. 2563.
46 Witoonsakul, P. & (Project Leader).   การพัฒนาแนวปฏิบัติการดูแลระยะสุดท้ายเพื่อยกระดับคุณภาพการตายของเด็กป่วยระยะสุดท้ายและครอบครัว: การวิจัยแบบผสานวิธี . . 2563.
47 Ongmekiat, T. (Project Leader), Maneejak, N., Prompahakul, R. & Chaoayachai, W.   การพัฒนารูปแบบการรับส่งเวรการพยาบาลแบบมีส่วนร่วมของหอผู้ป่วยจักษุ โสต ลาริงซ์ และ นาสิก ที่โรงพยาบาลตติยภูมิแห่งหนึ่ง . China Medical Board Inc.. 2563.
48 พวงเพชร & เกษรสมุทร (หัวหน้าโครงการวิจัย).   การพัฒนารูปแบบในการส่งเสริมสุขภาวะทางจิตใจและป้องกันปัญหาสุขภาพจิตในเด็กและวัยรุ่น . สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ. 2563.
49 Rerkluenrit, J. (Project Leader), Koshakri, R. & Ladee, C.   การสร้างเสริมสุขภาวะเชิงรุกตามมุมมองและความต้องการของประชาชนวัยผู้ใหญ่ในชุมชนวัดท่าพระ จังหวัดกรุงเทพมหานคร . China Medical Board Inc.. 2563.
50 Olanratmanee, B. & (Project Leader).   ครูเพศวิถีสำหรับวัยรุ่น . บางกอกน้อยโมเดล. 2563.
51 Samai, T. & (Project Leader).   ผลของโปรแกรมการสร้างแรงจูงใจ กับการควบคุมตนเองในการลดพฤติกรรมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของประชาชนวันแรงงานในชุมชน . บางกอกน้อยโมเดล. 2563.
52 กุลธิดา & ทรัพย์สมบูรณ์ (หัวหน้าโครงการวิจัย).   การพัฒนาสื่อการเรียนรู้ในการสื่อสารเรื่องเพศของผู้ปกครองเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ซ้ำของมารดาวัยรุ่น: การวิจัยแบบผสมผสาน . เงินรายได้ มหาวิทยาลัยมหิดล. 2562.
53 อาภาวรรณ & หนูคง (หัวหน้าโครงการวิจัย).   โครงการพัฒนาระบบและกลไกเพื่อสุขภาวะเด็กปฐมวัย: ภาคกลางและภาคตะวันตก . สำนักงานกองทุนสนับสนุนและสร้างเสริมสุขภาพ. 2562.
54 นภาพร & วาณิชย์กุล (หัวหน้าโครงการวิจัย).   โครงการวิจัยความรอบรู้ด้านสุขภาพช่องปากในประชากรไทยวัยทำงาน ยุค 4.0 . สำนักงานกองทุนสนับสนุนและสร้างเสริมสุขภาพ. 2562.
55 ผ่องศรี & ศรีมรกต (หัวหน้าโครงการวิจัย).   โครงการสำรวจความรู้ ความคิดเห็น และการปฏิบัติของสัตวแพทย์ และเจ้าของสัตว์เลี้ยงเกี่ยวกับพิษภัยจากการสูบบุหรี่ พิษภัยจากนิโคตินต่อสุขภาพสัตว์เลี้ยง . ศูนย์วิจัยและจัดการความรู้เพื่อการควบคุมยาสูบ. 2562.
56 ฐิติพงษ์ & ตันคำปวน (หัวหน้าโครงการวิจัย).   ปัจจัยทำนายการกลับเข้ารับการรักษาซ้ำภายหลังจำหน่ายออกจากโรงพยาบาล ระหว่างฐานะทางเศรษฐกิจและสังคม ภาวะซึมเศร้า การทำหน้าที่ด้านความคิดและ ความเข้าใจ การสนับสนุนทางสังคม และความรู้ ในผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยวิธีสวนหลอดเลือดหัวใจ . กองทุน ซี.เอ็ม.บี คณะพยาบาลศาสตร์. 2562.
57 สุดารัตน์ & สุวรรณเทวะคุปต์ (หัวหน้าโครงการวิจัย).   เปรียบเทียบผลของอัตราเร็วการฉีดยาเข้าชั้นกล้ามเนื้อต่อความปวดของทารกแรกเกิดที่ได้รับการฉีดวัคซีนตับอักเสบบี . กองทุน ซี.เอ็ม.บี คณะพยาบาลศาสตร์. 2562.
58 พวงเพชร & เกษรสมุทร (หัวหน้าโครงการวิจัย).   แผนงาน “การพัฒนารูปแบบในการส่งเสริมสุขภาวะทางจิตใจและป้องกันปัญหาสุขภาพจิตในเด็กและวัยรุ่น” . เงินงบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยมหิดล. 2562.
59 รักชนก คชไกร.   แผนงาน “โครงการเมืองสุขภาพดีวิถีท่องเที่ยวเชิงสุขภาพผสานการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย” . เงินงบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยมหิดล. 2562.
60 ศศิธารา & น่วมภา (หัวหน้าโครงการวิจัย).   พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของสตรีตั้งครรภ์ที่ทำงานในโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่: แนวคิดปรากฏการณ์วิทยา . กองทุน ซี.เอ็ม.บี คณะพยาบาลศาสตร์. 2562.
61 จิตต์ระพี & บูรณศักดิ์ (หัวหน้าโครงการวิจัย).   การพัฒนาโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่นโดยครอบครัวมีส่วนร่วม . กองทุน ซี.เอ็ม.บี คณะพยาบาลศาสตร์. 2561.
62 นันทิยา & วัฒายุ (หัวหน้าโครงการวิจัย).   การพัฒนาและประเมินผลโปรแกรมการจัดการโรคไตเรื้อรังด้วยตนเอง: การวิจัยแบบผสมผสาน . เงินงบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยมหิดล. 2561.
63 นภาพร & วาณิชย์กุล (หัวหน้าโครงการวิจัย).   การศึกษานำร่องความรอบรู้ทางสุขภาพช่องปากในประชากรไทยวัยทำงาน . สำนักงานกองทุนสนับสนุนและสร้างเสริมสุขภาพ. 2561.
64 ปิยาภรณ์ เยาวเรศ (หัวหน้าโครงการวิจัย) & ปรางทิพย์ ฉายพุทธ.   การศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลและข้อมูลทางคลินิกในผู้บาดเจ็บจากอุบัติเหตุ: การศึกษาไปข้างหน้าและย้อนหลัง . กองทุน ซี.เอ็ม.บี คณะพยาบาลศาสตร์. 2561.
65 สมสิริ & รุ่งอมรรัตน์ (หัวหน้าโครงการวิจัย).   โครงการทบทวนและประเมินผลการดำเนินงานโครงการพัฒนาองค์ความรู้และขับเคลื่อนการส่งเสริมทักษะสมองเพื่อสุขภาพเด็กและเยาวชนในประเทศไทย . สำนักงานกองทุนสนับสนุนและสร้างเสริมสุขภาพ. 2561.
66 ยุวดี & พงษ์สาระนันทกุล (หัวหน้าโครงการวิจัย).   โครงการพัฒนารูปแบบการดูแลเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนของกรุงเทพมหานคร . สำนักงานกองทุนสนับสนุนและสร้างเสริมสุขภาพ. 2561.
67 อัจฉราพร & สี่หิรัญวงศ์ (หัวหน้าโครงการวิจัย).   ประสิทธิผลของรูปแบบการดูแลแบบผสานความร่วมมือระหว่างวิชาชีพต่ออาการซึมเศร้า และการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด สำหรับผู้ป่วยโรคเบาหวานที่มีโรคซึมเศร้าร่วมด้วย . โรงพยาบาลพระศรีมหาโพธิ์. 2561.
68 อัจฉริยา & พ่วงแก้ว (หัวหน้าโครงการวิจัย).   ปัจจัยการจัดบริการสุขภาพ และคุณลักษณะผู้ป่วยที่ทำนายคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยหัวใจล้มเหลว . กองทุน ซี.เอ็ม.บี คณะพยาบาลศาสตร์. 2561.
69 คัทลียา & คงเพ็ชร (หัวหน้าโครงการวิจัย).   ปัจจัยทำนายความเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งต่อมลูกหมากในชายไทย . กองทุน ซี.เอ็ม.บี คณะพยาบาลศาสตร์. 2561.
70 เสาวรส & มีกุศล (หัวหน้าโครงการวิจัย).   ปัจจัยทำนายภาวะความดันโลหิตสูงในวัยรุ่น ในกรุงเทพมหานคร . กองทุน ซี.เอ็ม.บี คณะพยาบาลศาสตร์. 2561.
71 กาญจนา & ครองธรรมชาติ (หัวหน้าโครงการวิจัย).   ปัจจัยทำนายภาวะทุกข์ใจของมารดาที่มีบุตรป่วยด้วยโรคมะเร็ง . กองทุน ซี.เอ็ม.บี คณะพยาบาลศาสตร์. 2561.
72 รัตติมา & ศิริโหราชัย (หัวหน้าโครงการวิจัย).   เปรียบเทียบการถูกขัดจังหวะขณะปฏิบัติงานในห้องผ่าตัดระหว่างประเทศไทยและสหรัฐอเมริกา . กองทุน ซี.เอ็ม.บี คณะพยาบาลศาสตร์. 2561.
73 สุทธิศักดิ์ & ศรีสวัสดิ์ (หัวหน้าโครงการวิจัย).   ผลกระทบของความร่วมมือด้านการวิจัยในระดับต่างและข้อมูลบรรณมิติที่มีต่ออัตราการอ้างอิงและอัตราส่วนค่าอ้างอิงถ่วงน้ำหนักตามสาขาวิจัยของคณะพยาบาลศาสตร์ในประเทศไทย . กองทุน ซี.เอ็ม.บี คณะพยาบาลศาสตร์. 2561.
74 รัตนาภรณ์ & คงคา (หัวหน้าโครงการวิจัย).   ผลการเรียนรู้ และ คุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ของนักศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล . กองทุน ซี.เอ็ม.บี คณะพยาบาลศาสตร์. 2561.
75 เบ็ญจมาศ & โอฬารรัตน์มณี (หัวหน้าโครงการวิจัย).   ผลของโปรแกรม safe sex @ chat ต่อความตั้งใจในการปฏิบัติพฤติกรรมทางเพศที่ปลอดภัยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น . กองทุน ซี.เอ็ม.บี คณะพยาบาลศาสตร์. 2561.
76 วันดี & โตสุขศรี (หัวหน้าโครงการวิจัย).   ผลของโปรแกรมเตรียมความพร้อมก่อนกลับบ้านของผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยโรคหลอดเลือดสมองครั้งแรกและผู้ดูแล . กองทุน ซี.เอ็ม.บี คณะพยาบาลศาสตร์. 2561.
77 นันทนา & ธนาโนวรรณ (หัวหน้าโครงการวิจัย).   รูปแบบของความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในสตรีที่มารับบริการหน่วยตรวจโรคนรีเวช . กองทุน ซี.เอ็ม.บี คณะพยาบาลศาสตร์. 2561.
78 Pianchob, S. & (Project Leader).   ปัจจัยทางด้านจิตสังคมที่มีความสัมพันธ์ต่อความร่วมมือในการรับประทานยาอย่างต่อเนื่องในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง: การศึกษาเชิงคุณภาพ . China Medical Board Inc.. 2560.
79 Asdornwised, U. & (Project Leader).   The study of venous thromboembolism prevention guideline uses in perioperative nurses in Asian countries . The AORN/Sigma Theta Tau International Nursing Research Grant. 2560.
80 จงกลวรรณ & มุสิกทอง (หัวหน้าโครงการวิจัย).   การทบทวนงานวิจัยอย่างเป็นระบบเกี่ยวกับรูปแบบและประสิทธิผลของโปรแกรมการสนับสนุนการจัดการตนเองต่อผลลัพธ์ทางสุขภาพด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลตนเอง และการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด ในผู้ใหญ่ที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 . กองทุน ซี.เอ็ม.บี คณะพยาบาลศาสตร์. 2560.
81 ณัฐมา & ทองธีรธรรม (หัวหน้าโครงการวิจัย).   การประเมินผลโปรแกรมการพัฒนาพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปาก ต่อความรู้ ทัศนคติ ทักษะปฏิบัติ และสุขภาพช่องปาก ในสามเณร ณ วัดไผ่ดำ อำเภออินทร์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี . กองทุน ซี.เอ็ม.บี คณะพยาบาลศาสตร์. 2560.
82 นพพร & ว่องสิริมาศ (หัวหน้าโครงการวิจัย).   การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมสุขภาวะทางจิตใจและการป้องกันการใช้สารเสพติดของนักเรียน . กองทุน ซี.เอ็ม.บี คณะพยาบาลศาสตร์. 2560.
83 รักชนก & คชไกร (หัวหน้าโครงการวิจัย).   การศึกษาสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานของพยาบาลวิชาชีพในประเทศไทย . สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทย. 2560.
84 ดวงรัตน์ & วัฒนกิจไกรเลิศ (หัวหน้าโครงการวิจัย).   ความร่วมมือในการใช้ยาชนิดสูดควบคุมอาการ ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง และค่าใช้จ่าย ในผู้ป่วยโรคหืดและปอดอุดกั้นเรื้อรัง . กองทุน ซี.เอ็ม.บี คณะพยาบาลศาสตร์. 2560.
85 อรวมน & ศรียุกตศุทธ (หัวหน้าโครงการวิจัย).   คุณภาพชีวิตและปัจจัยที่เกี่ยวข้องในผู้หญิงที่ได้รับการรักษาด้วยการล้างไต . กองทุน ซี.เอ็ม.บี คณะพยาบาลศาสตร์. 2560.
86 สมสิริ & รุ่งอมรรัตน์ (หัวหน้าโครงการวิจัย).   โครงการติดตามและประเมินผลการดำเนินงานการจัดการศึกษาและการดูแลเด็กปฐมวัยตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ (พ.ศ.2557) . สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. 2560.
87 อัจฉราพร & สี่หิรัญวงศ์ (หัวหน้าโครงการวิจัย).   โครงการประสิทธิผลของรูปแบบการดูแลแบบผสานความร่วมมือระหว่างวิชาชีพต่ออาการซึมเศร้า และการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด สำหรับผู้ป่วยโรคเบาหวานที่มีโรคซึมเศร้าร่วมด้วย . โรงพยาบาลพระศรีมหาโพธิ์. 2560.
88 อาภาวรรณ & หนูคง (หัวหน้าโครงการวิจัย).   โครงการสนับสนุนวิชาการเพื่อสุขภาวะเด็กปฐมวัยโดยครอบครัวและชุมชนเป็นฐาน ภาคกลางและตะวันตก . สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. 2560.
89 ยาใจ & สิทธิมงคล (หัวหน้าโครงการวิจัย).   โครงการอบรมระยะสั้น สำหรับผู้ดูแลผู้สูงอายุ . คณะรัฐมนตรี. 2560.
90 ธิราวรรณ & เชื้อตาเล็ง (หัวหน้าโครงการวิจัย).   ปัจจัยทำนายคุณภาพชีวิตผู้ป่วยกระดูกสันหลังเสื่อม . กองทุน ซี.เอ็ม.บี คณะพยาบาลศาสตร์. 2560.
91 วิราพรรณ & วิโรจน์รัตน์ (หัวหน้าโครงการวิจัย).   ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการจัดการตนเองของผู้สูงอายุโรคเบาหวาน ชนิดที่ 2 . สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. 2560.
92 วิราพรรณ & วิโรจน์รัตน์ (หัวหน้าโครงการวิจัย).   ปัจจัยทำนายภาวะสุขภาพของผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะสมองเสื่อม . สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. 2560.
93 สาธกา & พิมพ์รุณ (หัวหน้าโครงการวิจัย).   ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการปฏิบัติเพื่อควบคุมยาสูบของพยาบาลวิชาชีพที่เคยเป็นแกนนำของ ชมรมนักศึกษาพยาบาลสร้างสังคมไทยปลอดบุหรี่ . เครือข่ายพยาบาลแห่งประเทศ. 2560.
94 ผ่องศรี & ศรีมรกต (หัวหน้าโครงการวิจัย).   ผลของโปรแกรมการสร้างเสริมพฤติกรรมการล้างมือต่อความรู้ ทัศนคติ และทักษะของสามเณรวัดไผ่ดำ อำเภออินทร์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี . กองทุน ซี.เอ็ม.บี คณะพยาบาลศาสตร์. 2560.
ค้นหา วิจัย
ทุกเขตคำค้น
ชื่อนักวิจัย
ชื่อผลงานวิจัย
ชื่อวารสาร
ปี พ.ศ.
หน่วยงานให้ทุน/แหล่งทุน
ระดับ