…การพยาบาลนั้น ไม่ใช่ว่าจะมีประโยชน์แต่การพยาบาลอย่างเดียว
ย่อมเป็นประโยชน์สำหรับบำรุงชาติและบ้านเมืองของเราด้วย…
ชื่อ | ผศ.ดร.จันทิมา ฤกษ์เลื่อนฤทธิ์ |
---|---|
ตำแหน่ง | รองคณบดีฝ่ายการศึกษา |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ | |
อีเมล | juntima.rer@mahidol.ac.th |
ที่อยู่ | เลขที่ 2 ถนนวังหลัง แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ 10700 |
โทร | 02-4197466-80 ต่อ 1303 |
1) ผลของโปรแกรมสูงวัยอย่างมีพลังต่อภาวะสุขภาพ ความสามารถในการเข้าถึงและใช้สื่อออนไลน์ และรายได้จากการเป็นมัคคุเทศก์ท่องเที่ยวเชิงสุขภาพของผู้สูงอายุในจังหวัดกรุงเทพมหานคร.
จันทิมา ฤกษ์เลื่อนฤทธิ์ (หัวหน้าโครงการวิจัย).
ทุนสนับสนุนด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม. 2567.
2) การสร้างเสริมสุขภาวะเชิงรุกตามมุมมองและความต้องการของประชาชนวัยผู้ใหญ่ในชุมชนวัดท่าพระ จังหวัดกรุงเทพมหานคร.
จันทิมา ฤกษ์เลื่อนฤทธิ์ (หัวหน้าโครงการวิจัย), รักชนก คชไกร, ชลธิดา ลาดี.
กองทุน ซี.เอ็ม.บี คณะพยาบาลศาสตร์. 2563.
3) การจัดการความรู้เรื่องการท่องเที่ยวสุขภาพโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
รักชนก คชไกร (หัวหน้าโครงการวิจัย), จันทิมา ฤกษ์เลื่อนฤทธิ์, เวหา เกษมสุข, เสาวรส มีกุศล.
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. 2563.
1) Effectiveness of the Thai traditional health tourism activities empowerment program on the active aging of Thai older adults.
Koshakri, R., Rerkluenrit, J.. (2024).
Journal of Public Health and Development, 22(2), 286-296.
1) ประสิทธิผลของโปรแกรมการให้ความรู้ผู้สูงอายุในการดูแลตนเอง โดยใช้ภูมิปัญญาไทยในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
กัญจน์ฉัตร ณรงค์วิทย์, รักชนก คชไกร, จันทิมา ฤกษ์เลื่อนฤทธิ์. (2567).
วารสารพยาบาลทหารบก, 35(2), 231-240.
2) ผลของโปรแกรมการเยี่ยมบ้านทางไกลแบบมีปฏิสัมพันธ์อย่างมีเป้าหมาย ต่อระดับความดันโลหิตของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมไม่ได้วัยทำงานในสถานประกอบการ กรุงเทพมหานคร.
ศิริพร เภาแก้ว, รักชนก คชไกร, จันทิมา ฤกษ์เลื่อนฤทธิ์. (2567).
วารสารวิจัยทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จังหวัดนนทบุรี, 18(3), 49-60.
3) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพการส่งต่อที่ไร้รอยต่อในเขตเมืองกรุงเทพมหานคร.
สิรินรักษ์ ไชยสมบูรณ์, รักชนก คชไกร, จันทิมา ฤกษ์เลื่อนฤทธิ์. (2567).
วารสารพยาบาลทหารบก, 25(3), 161-169.
4) ผลของโปรแกรมเสริมสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพทางการออกกำลังกายต่อพฤติกรรมการออกกำลังกายและความรอบรู้ด้านสุขภาพของผู้สูงอายุโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน กรุงเทพมหานคร.
ทิพวัลย์ เปียสะคร้าน, ยุพา จิ๋วพัฒนกุล, จันทิมา ฤกษ์เลื่อนฤทธิ์. (2566).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 41(4), 44-55.
5) แนวทางการสร้างเสริมพฤฒพลังในการเป็นมัคคุเทศก์การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ: มุมมองของผู้สูงอายุกรณีศึกษาจังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
จันทิมา ฤกษ์เลื่อนฤทธิ์, รักชนก คชไกร. (2563).
วารสารพยาบาลทหารบก, 21(3), 473-480.
6) การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลที่ คัดสรร สภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานกับความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพในประเทศไทย.
จันทิมา ฤกษ์เลื่อนฤทธิ์, รักชนก คชไกร. (2562).
ศรีนครินทร์เวชสาร, 34(3), 287-292.
7) ผลของโปรแกรมการสอนเพื่อการเรียนรู้ การกระตุ้น การติดตามทางโทรศัพท์และการเยี่ยมบ้านต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจโคโรนารี.
จันทิมา ฤกษ์เลื่อนฤทธิ์. (2562).
วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, 30(1), 89-101.
8) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลที่คัดสรร สภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานกับการคงอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพในประเทศไทย.
จันทิมา ฤกษ์เลื่อนฤทธิ์, รักชนก คชไกร. (2561).
วารสารพยาบาลทหารบก, 19(3), 195-203.
9) การสำรวจสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานพลังบวกของพยาบาลวิชาชีพในประเทศไทย.
สุปาณี เสนาดิสัย, รักชนก คชไกร, จันทิมา ฤกษ์เลื่อนฤทธิ์, อัครเดช เกตุฉ่ำ, เสาวรส มีกุศล, ยุพา จิ๋วพัฒนกุล, เวหา เกษมสุข, สุภาภัค เภตราสุวรรณ, นันทพันธ์ ชินล้ำประเสริฐ. (2561).
วารสารพยาบาล, 67(4), 1-10.
10) ผลของโปรแกรมการส่งเสริมสุขภาพต่อคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพของญาติผู้ดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลว.
จันทิมา ฤกษ์เลื่อนฤทธิ์. (2561).
วารสารพยาบาลทหารบก, 19(2), 319-327.
11) ผลของโปรแกรมการส่งเสริมการเรียนรู้แลการติดตามต่อพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของญาติผู้ดูแลผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว.
จันทิมา ฤกษ์เลื่อนฤทธิ์. (2560).
วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ, 35(4), 61-71.
12) ผลของโปรแกรมการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขในการเยี่ยมบ้านให้ความรู้ผู้เป็นเบาหวานที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อนอย่างต่อเนื่องต่อระดับน้ำตาลในเลือดของผู้เป็นเบาหวานในชุมชน.
รักชนก คชไกร, เวหา เกษมสุข, จันทิมา ฤกษ์เลื่อนฤทธิ์. (2559).
วารสารพยาบาลทหารบก, 17(1), 141-147.
13) ผลของโปรแกรมการสนับสนุนและการให้ความรู้โดยทีมสหวิชาชีพต่อพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพเพื่อป้องกันภาวะหัวใจล้มเหลวของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดแดงโคโรนารีที่มีภาวะความดันโลหิตสูง.
จันทิมา ฤกษ์เลื่อนฤทธิ์, รัมภาพรรณ ประมวลทรัพย์. (2559).
วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ, 34(3), 40-47.
14) Health Promoting Behaviors among Family Caregivers of Patients with Heart Failure.
จันทิมา ฤกษ์เลื่อนฤทธิ์, เจริญ ตรีศักดิ์. (2559).
วารสารไทยเภสัชศาสตร์และวิทยาการสุขภาพ, 11(2), 62-68.
15) การพัฒนาแนวทางการดูแลตนเองของผู้ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวในจังหวัดนครนายก ในมุมมองของผู้รับบริการและผู้ดูแลต่อความสามารถในการดูแลตนเองและการเข้ารับการรักษาตัวซ้ำในโรงพยาบาล.
จันทิมา ฤกษ์เลื่อนฤทธิ์, รักชนก คชไกร, รัมภาพรรณ ประมวลทรัพย์. (2557).
วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ, 32(1), 137-151.
16) ประสิทธิผลของโปรแกรมพัฒนาศักยภาพของอาสาสมัครสาธารณสุขต่อความรู้เรื่องโรคและความพึงพอใจต่อการบริการที่ได้รับของผู้ที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 ในชุมชนแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร.
จันทิมา ฤกษ์เลื่อนฤทธิ์, รักชนก คชไกร. (2557).
ไทยเภสัชศาสตร์และวิทยาการสุขภาพ, 9(4), 157-163.