…การพยาบาลนั้น ไม่ใช่ว่าจะมีประโยชน์แต่การพยาบาลอย่างเดียว
ย่อมเป็นประโยชน์สำหรับบำรุงชาติและบ้านเมืองของเราด้วย…
ชื่อ | รศ.ดร.พวงเพชร เกษรสมุทร |
---|---|
ตำแหน่ง | รองคณบดีฝ่ายทรัพยากรบุคคล |
รองศาสตราจารย์ | |
อีเมล | paungpet.kas@mahidol.ac.th |
ที่อยู่ | เลขที่ 2 ถนนวังหลัง แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ 10700 |
โทร | 02-4415333 ต่อ 2631 |
1) การพัฒนารูปแบบในการส่งเสริมสุขภาวะทางจิตใจและป้องกันปัญหาสุขภาพจิตในเด็กและวัยรุ่น.
พวงเพชร เกษรสมุทร (หัวหน้าโครงการวิจัย).
สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ. 2563.
2) แผนงาน “การพัฒนารูปแบบในการส่งเสริมสุขภาวะทางจิตใจและป้องกันปัญหาสุขภาพจิตในเด็กและวัยรุ่น”.
พวงเพชร เกษรสมุทร (หัวหน้าโครงการวิจัย).
เงินงบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยมหิดล. 2562.
1) Mediating role of mindfulness, self-efficacy, and resilience on the stress–psychological well-being in Thai adolescents.
Vongsirimas, N., Sitthimongkol, Y., Kaesornsamut, P., Thanoi, W., Pumpuang, W., Phetrasuwan, S., Kesornsri, S., Thavorn, T., Pianchob, S., Pimroon, S., Klainin-Yobas, P. (2020).
International Journal of Psychosocial Rehabilitation, 24(10), 5376-5391.
2) How Thai Women Manage Living in the Context of Intimate Partner Violence.
Thananowan, N., Kaesornsamut, P., Rourke, T., Hegadoren, K.. (2018).
Journal of Interpersonal Violence, 7(-), 1-23.
1) ผลของโปรแกรมการฝึกสติและกระตุ้นสมองต่อการทำหน้าที่ด้านการรู้คิด ภาวะซึมเศร้า และสุขภาวะทางจิตใจของสตรีในสถานคุ้มครองคนไร้ที่พึ่งที่มีการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อย.
ปิยนุช วิริยะตันติกุล, พวงเพชร เกษรสมุทร, สุดารัตน์ เพียรชอบ. (2566).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 41(2), 1-16.
2) ผลของโปรแกรมการฝึกทักษะทางสังคมในการพัฒนาทักษะทางสังคมในเด็กปฐมวัยออทิสติก.
ภัสสร จิตสงบ, สุภาภัค เภตราสุวรรณ, พวงเพชร เกษรสมุทร, วไลลักษณ์ พุ่มพวง. (2565).
วารสารพยาบาลทหารบก, 23(1), 339-407.
3) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าของวัยรุ่นในสถานสงเคราะห์.
ประยูรศรี ศรีจันทร์, พวงเพชร เกษรสมุทร, วารีรัตน์ ถาน้อย. (2563).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 38(1), 86-98.
4) ปัจจัยทํานายอาการซึมเศร้าในผู้สูงอายุที่อยู่ในชุมชน จังหวัดบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย.
Made Dian Shanti Kusuma, ยาใจ สิทธิมงคล, วิราพรรณ วิโรจน์รัตน์, พวงเพชร เกษรสมุทร. (2563).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 38(4), 62-76.
5) บทบาทการเป็นตัวแปรส่งผ่านของการมีสติต่อความสัมพันธ์ระหว่างความเครียดและการใช้สารเสพติดในนักเรียนระดับมัธยมศึกษา.
สุดารัตน์ เพียรชอบ, พวงเพชร เกษรสมุทร. (2561).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 36(2), 78-87.
6) อิทธิพลของความรู้ ทัศนคติ การสื่อสารเรื่องเพศ การใช้สารเสพติด และสื่อกระตุ้นอารมณ์ทางเพศต่อการมีเพศสัมพันธ์ในนักเรียนหญิงชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น.
ทิติยา กาวิละ, นันทนา ธนาโนวรรณ, ฉวีวรรณ อยู่สำราญ, พวงเพชร เกษรสมุทร. (2560).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 35(2), 74-85.
7) ความสัมพันธ์ระหว่างความฉลาดทางอารมณ์กับพฤติกรรมการปรับตัวของนักศึกษาพยาบาล.
กนกพร หมู่พยัคฆ์, จรินทิพย์ อุดมพันธุ์รัก, ชลียา กัญพัฒนพร, ชัญญา แสงจันทร์, พวงเพชร เกษรสมุทร. (2558).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 33(Sup1), 55-65.
8) อิทธิพลของความเครียด การสนับสนุนทางสังคม ความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง และความรุนแรงที่เกิดจากคู่สมรสต่อภาวะซึมเศร้าหลังคลอดในมารดาวัยรุ่น.
พรพรรณ อินต๊ะ, นันทนา ธนาโนวรรณ, วรรณา พาหุวัฒนกร, พวงเพชร เกษรสมุทร. (2558).
วารสารการพยาบาลและสุขภาพ, 9(1), 95-104.
9) ปัจจัยทำนายความรุนแรงที่เกิดจากคู่สมรสในสตรีที่มีปัญหาทางนรีเวช.
นันทนา ธนาโนวรรณ, พวงเพชร เกษรสมุทร. (2557).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 32(1), 71-80.
10) ผลของโปรแกรมการฝึกโยคะต่อความสุข การเห็นคุณค่าในตนเอง และอาการซึมเศร้าในนักศึกษาพยาบาล.
กลิ่นชบา สุวรรณรงค์, พวงเพชร เกษรสมุทร, นภวัลย์ กัมพลาศิริ, วรรณา คงสุริยะนาวิน,, กาญจนา ครองธรรมชาติ. (2556).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 31(4), 66-78.
11) ผลของตัวแปรส่งผ่านจากความรุนแรงที่เกิดจากคู่สมรส และปัจจัยทางจิตสังคมต่อภาวะซึมเศร้าก่อนคลอดและหลังคลอดในสตรีไทย.
นันทนา ธนาโนวรรณ, นพพร ว่องสิริมาศ, เดช เกตุฉ่ำ, พวงเพชร เกษรสมุทร. (2555).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 30(4), 28-36.