การพยาบาลก้าวไกล เพราะน้ำใจเหล่าพยาบาล เสียสละและบริการ ตามปณิธานสมเด็จพระบรมราชชนนี
ชื่อ | |
---|---|
ตำแหน่ง | |
อีเมล | |
ที่อยู่ | เลขที่ 2 ถนนวังหลัง แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ 10700 |
โทร |
1) Resilience of patients with brain tumor while awaiting surgery.
Maneekrong, s., Tankumpuan, T., Danaidutsadeekul, S., Siwanuwatn, R. (2023).
Journal of Neuroscience Nursing, 10(1), 1097-0.
2) Factors explaining quality of life among people with moderate to severe traumatic brain injury in Bangladesh: a cross-sectional study.
Nurul Islam, M., Thosingha, O., Danaidutsadeekul, S., Viwatwongkasem, C. (2022).
Pacific Rim International Journal of Nursing Research, 26(1), 146-160.
3) Incidence of shock in patients treated in an emergency department after sustaining a road traffic injury.
Eiamla-or, P., Thosingha, O., Danaidutsadeekul, S., Viwatwongkasem, C., Hegadoren, K. (2020).
Pacific Rim International Journal of Nursing Research, 24(4), 436-437.
1) ปัจจัยทำนายการเกิดภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัดในผู้ป่วยหลอดเลือดสมองโป่งพองแตก.
อัจฉรา ศรีนุกูล, สุพร ดนัยดุษฎีกุล, วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์, ทวีศักดิ์ เอื้อบุญญาวัฒน์. (2567).
วารสารเกื้อการุณย์, 31(1), 15-29.
2) ปัจจัยทำนายภาวะแทรกซ้อนในระยะแรกหลังผ่าตัด ในผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บรยางค์.
นันทิภัคค์ พีรวัสธนะวุฒิ, สุพร ดนัยดุษฎีกุล, เกศศิริ วงษ์คงคำ, กุสุมา ชินอรุณชัย. (2567).
วารสารพยาบาลทหารบก, 25(3), 188-196.
3) ผลของโปรแกรมการป้องกันการติดเชื้อในกระแสเลือดที่สัมพันธ์กับการใส่สายสวนหลอดเลือดส่วนกลางต่อความรู้และการปฏิบัติของพยาบาล และอัตราการติดเชื้อในหอผู้ป่วยวิกฤติเด็ก.
ธนกฤต แก้วบวร, วนิดา เสนะสุทธิพันธุ์, สุพร ดนัยดุษฎีกุล. (2566).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 41(2), 76-92.
4) ผลของโปรแกรมการดูแลผิวหนังต่อการหายของแผลในผู้ป่วยที่มีภาวะผิวหนังอักเสบจากการควบคุมการขับถ่ายไม่ได้.
นิศาชล กวางทอง, สุพร ดนัยดุษฎีกุล, ดวงรัตน์ วัฒนกิจไกรเลิศ, อภิชัย อังสพัทธ์. (2566).
วารสารเกื้อการุณย์, 30(1), 14-24.
5) ผลของโปรแกรมการเคลื่อนไหวร่างกายโดยเร็วต่อการฟื้นตัวด้านการทำหน้าที่ของลำไส้หลังผ่าตัด 72 ชั่วโมงแรกในผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดช่องท้องแบบเปิด.
สุนิสา เกยสันเทียะ, เกศศิริ วงษ์คงคำ, สุพร ดนัยดุษฎีกุล, ธรรมศักดิ์ ทวิชศรี. (2565).
วารสารสภาการพยาบาล, 37(2), 61-80.
6) ปัจจัยทํานายความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจําวันของผู้สูงอายุหลังผ่าตัดสะโพก.
ฉวีวรรณ ประนางรอง, สุพร ดนัยดุษฎีกุล, วิราพรรณ วิโรจน์รัตน์, วิโรจน์ ลาภไพบูลย์พงศ์. (2565).
วารสารพยาบาลตำรวจ, 14(1), 117-126.
7) ปัจจัยทำนายการฟื้นตัวหลังผ่ําตัดในผู้ป่วยที่ได้รับกํารผ่ําตัดตับ.
ธัญลักษณ์ ชีวะประไพ, เกศศิริ วงษ์คงคำ, สุพร ดนัยดุษฎีกุล, พงศ์รัตน์ ศิริจินดํากุล. (2565).
วารสารสภาการพยาบาล, 37(3), 109-127.
8) ปัจจัยทำนายความพร้อมในการจําหน่ายจากโรงพยาบาลในผู้ป่วยอุบัติเหตุภายหลังได้รับการผ่าตัดรยางค์.
ทิพวัลย์ พราหมณ์น้อย, สุพร ดนัยดุษฎีกุล, วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์. (2565).
วารสารพยาบาลทหารบก, 23(2), 179-187.
9) ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะซึมเศร้าดัชนีมวลกายคุณภาพการนอนหลับภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะชนิดห้องบนสั่นพลิ้วและจานวนวันนอนโรงพยาบาลในผู้ป่วยภายหลังผ่าตัดหัวใจแบบเปิด.
อรุณตรี เครือแก้ว, สุพร ดนัยดุษฎีกุล, เกศศิริ วงษ์คงคำ, เกรียงไกร ตันติวงศ์โกสีย์. (2565).
วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, 33(1), 99-116.
10) ปัจจัยทำนายระยะวันนอนในโรงพยาบาลของผู้ป่วยหลังผ่าตัดข้อสะโพกเทียม.
เอมวิกา สุขสถิตย์, สุพร ดนัยดุษฎีกุล, อรพรรณ โตสิงห์, ก้องเขต เหรียญสุวรรณ. (2565).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 40(4), 110-112.
11) ปัจจัยทำนายการเกิดภาวะสับสนเฉียบพลันหลังผ่าตัดในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดแดงส่วนปลายอุดตัน.
ปุราภรณ์ โชคเฉลิมวงศ์, เกศศิริ วงษ์คงคำ, สุพร ดนัยดุษฎีกุล, คามิน ชินศักดิ์ชัย. (2564).
วารสารสภาการพยาบาล, 36(1), 129-149.
12) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดแดงส่วนปลายอุดตันภายใน 6 เดือนแรกหลังทeการผ่าตัดเพิ่มการไหลเวียนของเลือดแดงส่วนปลาย.
ลัดดาวัลย์ นามโยธา, สุพร ดนัยดุษฎีกุล, เกศศิริ วงษ์คงคำ, ชุมพล ว่องวานิช. (2564).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 39(2), 64-76.
13) ปัจจัยทำนายความสามารถในการทำหน้าที่ของร่างกายในผู้ป่วยกระดูกหักจากภาวะกระดูกพรุน.
ทัศเนตร พุทธรักษา, สุพร ดนัยดุษฎีกุล, อรพรรณ โตสิงห์ , อาศิส อุนนะนันทน์. (2564).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 39(3), 60-73.
14) ปัจจัยทำนายการเกิดกลุ่มอาการตอบสนองต่ออาการอักเสบทั่วร่างกาย ในผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บ.
สมคิด รูปงาม, สุพร ดนัยดุษฎีกุล, อรพรรณ โตสิงห์, จตุพร ศิริกุล. (2563).
วารสารสภาการพยาบาล, 35(1), 100-117.
15) ผลของโปรแกรมการฟื้นฟูสภาพโดยเร็วต่อความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันของผู้ป่วยหลังผ่าตัดระบบทางเดินอาหารแบบเปิดช่องท้อง.
อรวรรณ หลงเวช, ผ่องศรี ศรีมรกต, สุพร ดนัยดุษฎีกุล, เชิดศักดิ์ ไอรมณีรัตน์. (2563).
วารสารสภาการพยาบาล, 35(2), 32-51.
16) ปัจจัยที่สัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตผู้ป่วยแผลไหม้ที่มาติดตามการรักษาภายหลังจำหน่ายจากโรงพยาบาล.
สุมิตรา แป้นคุ้มญาติ, สุพร ดนัยดุษฎีกุล, อรพรรณ โตสิงห์, พรพรหม เมืองแมน, อังคณา ตันวัฒนากูล. (2563).
วารสารสภาการพยาบาล, 35(2), 99-115.
17) ปัจจัยทำนายความปวดในผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บก่อนจำหน่ายจากโรงพยาบาล.
อติภัทร พรมสมบัติ, สุพร ดนัยดุษฎีกุล, อรพรรณ โตสิงห์, จตุพร ศิริกุล. (2563).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 38(2), 59-73.
18) การพัฒนาโปรแกรมเสริมสร้างสมรรถนะพยาบาลวิชาชีพงานอุบัติเหตุและฉุกเฉินโรงพยาบาลชุมชนจังหวัดชุมพร.
อารีย์ เสถียรวงศา, บุญทิพย์ สิริธรังศรี, วันเพ็ญ ภิญโญภาสกุล, สุพร ดนัยดุษฎีกุล. (2563).
วารสารวิจัยทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ, 14(2), 114-124.
19) ปัจจัยทำนายการฟื้นตัวด้านการหายใจของผู้ป่วยอุบัติเหตุหลังการผ่าตัด.
อภิชญา มั่นเกษวิทย์, สุพร ดนัยดุษฎีกุล, วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์, สุชาดา ภัทรมงคลฤทธิ์, จตุพร ศิริกุล. (2562).
วารสารกรมการแพทย์, 44(3), 114-119.
20) ความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถทางกาย ความปวด การสนับสนุนทางสังคมกับระดับคะแนนภาวะเครียดจากเหตุการณืร้ายแรงในผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลัง.
พัชราวดี ธรรมวิเศษศักดิ์, สุพร ดนัยดุษฎีกุล, อรพรรณ โตสิงห์, ชลเวช ชวศิริ. (2562).
วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์, 39(1), 13-27.
21) เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างระดับการแสดงออกในการจัดการภาวะสุขภาพของผู้ป่วย ต่อความเจ็บปวด ภาวะไร้ความสามารถ และการรับรู้ภาวะสุขภาพของผู้ป่วยหลังผ่าตัดกระดูกสันหลังระดับเอว.
เสาวรัตน์ พินิจมนตรี, สุพร ดนัยดุษฎีกุล, อรพรรณ โตสิงห์. (2562).
วารสารพยาบาลทหารบก, 20(1), 321-330.
22) โมเดลการทำนายคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและลำคอหลังได้รับรังสีรักษา.
มณฑิรา คำห่อ, นภาพร วาณิชย์กุล, สุพร ดนัยดุษฎีกุล, กุลธร เทพมงคล. (2561).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 36(2), 67-77.
23) ปัจจัยสัมพันธ์กับการเปลี่ยนแปลงความดันในลูกตาของผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งต่อมลูกหมากด้วยการส่องกล้องผ่านทางหน้าท้อง.
ภัทรศญาณัณท์ มูลมั่ง, นภาพร วาณิชย์กุล, สุพร ดนัยดุษฎีกุล, ละอองศรี อัชชะนียะสกุล. (2561).
วารสารพยาบาลทหารบก, 19(3), 243-252.
24) ความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มแข็งในการมองโลก ระดับน้ำตาลในเลือด ระยะเวลาการเริ่มรับประทานอาหารครั้งแรกกับการฟื้นตัวภายหลังผ่าตัดลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรงแบบเปิดช่องท้อง.
โจธิกา เบ็ญชา, ทิพา ต่อสกุลแก้ว, สุพร ดนัยดุษฎีกุล. (2561).
วารสารแพทย์นาวี, 45(3), 544-560.
25) ปัจจัยทำนายการฟื้นตัวในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดแดงบริเวณขาตีบตันภายหลังการผ่าตัด โดยผ่านทางสายสวนหลอดเลือดแดง.
รัชดาภรณ์ เรืองวิเศษ, นภาพร วาณิชย์กุล, สุพร ดนัยดุษฎีกุล, เกศศิริ วงษ์คงคำ, คามิน ชินศักดิ์ชัย. (2560).
วารสารสภาการพยาบาล, 32(2), 79-94.
26) ปัจจัยทำนายคุณภาพชีวิตผู้ป่วยหลังผ่าตัดทำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ 6-18 สัปดาห์.
พัชรี จิตเอื้ออังกูร, นภาพร วาณิชย์กุล, สุพร ดนัยดุษฎีกุล, ธีรพงศ์ โตเจริญโชค. (2560).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 35(3), 106-19.
27) ปัจจัยทำนายคุณภาพชีวิตผู้ป่วยหลังผ่าตัดกระดูกสันหลังระดับเอว.
ลัดดาวัลย์ หิมคุณ, สุพร ดนัยดุษฎีกุล, นภาพร วาณิชย์กุล, ชลเวช ชวศิริ. (2560).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 35(3), 82-93.
28) ปัจจัยทำนายคุณภาพชีวิตผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อมหลังผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม.
ขวัญฤดี โกพลรัตน์, สุพร ดนัยดุษฎีกุล, นภาพร วาณิชย์กุล, ระพีพัฒน์ นาคบุญนำ. (2560).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 35(3), 94-105.
29) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยมะเร็งต่อมลูกหมากที่ได้รับการผ่าตัดต่อมลูกหมากออกทั้งหมด.
อัญพัชร์ พุฒิศราเศรษฐ์, สุพร ดนัยดุษฎีกุล, อรพรรณ โตสิงห์, กิตติพงษ์ พินธุโสภณ. (2560).
วารสารพยาบาลทหารบก, 18(3), 100-6.
30) ปัจจัยที่มีควํามสัมพันธ์ต่อกํารเกิดกลุ่มอํากํารตอบสนองต่อกํารอักเสบทั่วร่ํางกําย ระยะ 24 ชั่วโมงแรกของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจโคโรนํารีที่ได้รับกํารผ่ําตัดหัวใจแบบเปิด.
ฉัตราภรณ์ มณีประสิทธิ์, ศิริอร สินธุ, สุพร ดนัยดุษฎีกุล, เกรียงไกร ตันติวงศ์โกสีย์. (2559).
วารสารพยาบาลทหารบก, 17(3), 63-72.
31) ความสัมพันธ์ระหว่างความแตกฉานทางสุขภาพ ความรุนแรงของโรค ความรับผิดชอบของผู้ป่วยและการรับรู้การดูแลแบบบุคคลเป็นศูนย์กลางกับคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยภายหลังผ่าตัดทำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ.
สิรินันท์ ชูเชิด, นภาพร วาณิชย์กุล, สุพร ดนัยดุษฎีกุล, ชัยวุฒิ ยศถาสุโรดม. (2559).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 34(suppl1), 94-106.
32) ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะโภชนาการของผู้ป่วยหลังผ่าตัดมะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนัก ขณะรักษาในโรงพยาบาล.
ผ่องศรี ศรีมรกต, จิรภา เสถียรพงศ์ประภา, สุพร ดนัยดุษฎีกุล. (2559).
วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์, 36(1), 143-162.
33) Effect of Gum Chewing on Bowel Motility in Patients with Colorectal Cancer after Open Colectomy: A Randomized Controlled Trial.
Duangchan, C., Toskulkao, T., สุพร ดนัยดุษฎีกุล, Iramaneerat, C. (2559).
วารสารศิริราช, 68(3), 135-141.
34) เปรียบเทียบดัชนีมวลกาย ความเครียดเรื้อรัง ความแตกฉานทางสุขภาพ ความรับผิดชอบของผู้ป่วย และการรับรู้การดูแลแบบบุคคลเป็นศูนย์กลางระหว่างผู้ป่วยที่กลับเป็นนิ่วทางเดินปัสสาวะซ้ำและผู้ที่ไม่เป็นซ้ำ.
ธิมาภรณ์ ซื่อตรง, สุพร ดนัยดุษฎีกุล, นภาพร วาณิชย์กุล, ตรี หาญประเสริฐพงษ์. (2559).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 34(2), 80-91.
35) ความสัมพันธ์ระหว่างโรคร่วม สภาพผู้ป่วยระหว่างผ่าตัด กลุ่มอาการตอบสนองการอักเสบทั่วร่างกาย และภาวะไตวายเฉียบพลันในผู้ป่วยวิกฤตระยะ 72 ชั่วโมงแรกหลังการผ่าตัดใหญ่.
ปิญาพร ภูลายเรียบ, สุพร ดนัยดุษฎีกุล, วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์, สุณีรัตน์ คงเสรีพงศ์. (2559).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 34(suppl1), 107-117.
36) ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการจัดการตนเองของผู้ป่วยหลอดเลือดแดงส่วนปลายตีบตัน ภายหลังได้รับการรักษาผ่านทางสายสวนหลอดเลือดแดง.
สุนันทา ตนกลาย, สุวิมล กิมปี, สุพร ดนัยดุษฎีกุล, เกศศิริ วงษ์คงคำ, ชุมพล ว่องวานิช. (2557).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 32(1), 39-50.
1) ความสัมพันธ์ของประสบการณ์การมีอาการในกลุ่มอาการกับคุณภาพชีวิตและกลวิธีจัดการกับอาการของผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนักหลังผ่าตัด.
ประกายดาว สุทธิ, สุวิมล กิมปี, สุพร ดนัยดุษฎีกุล, เชิดศักดิ์ ไอรมณีรัตน์. (2558).
วารสารนเรศวรพะเยา, 8(2), 107-112.
2) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับระยะเวลาในการเข้าถึงบริการสุขภาพของผู้ป่วยบาดเจ็บจากการจราจรทางบก.
ณรงค์ กลั่นความดี, อรพรรณ โตสิงห์, สุพร ดนัยดุษฎีกุล, บรรเจิด ประดิษฐ์สุขถาวร. (2558).
วารสารสภาการพยาบาล, 30(3), 54-66.
3) ปัจจัยเสี่ยงต่อการใช้เครื่องช่วยหายใจนานในผู้ป่วยหลังผ่าตัดช่องท้องระยะวิกฤต.
ปนัดดา เสือหรุ่น, อรพรรณ โตสิงห์, สุพร ดนัยดุษฎีกุล, อรอุมา ชัยวัฒน์. (2558).
วารสารสภาการพยาบาล, 30(4), 107-120.
4) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการติดเชื้อในกระแสเลือดในผู้ป่วยแผลไหม้.
นันธิพร นันธิพร, อรพรรณ โตสิงห์, สุพร ดนัยดุษฎีกุล, เกศศิริ วงษ์คงคำ. (2558).
วารสารสภาการพยาบาล, 30(4), 19-31.
5) ปัจจัยทำนายการเกิดกลุ่มอาการตอบสนองการอักเสบทั่วร่างกายของผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดช่องท้องในระยะ 24 ชั่วโมงแรก.
ยุพยงค์ กุลโพธิ์, อรพรรณ โตสิงห์, สุพร ดนัยดุษฎีกุล, สุณีรัตน์ คงเสรีพงศ์. (2557).
วารสารสภาการพยาบาล, 29(1), 5-14.
6) ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะโรคร่วม ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อในการกำมือ และความวิตกกังวลกับการฟื้นตัวด้านการทำหน้าที่ของผู้ป่วยกระดูกสะโพกหักภายหลังผ่าตัด.
สุวิมล แคล่วคล่อง, วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์, สุพร ดนัยดุษฎีกุล, ก้องเขต เหรียญสุวรรณ. (2557).
วารสารสภาการพยาบาล, 29(2), 36-48.
7) ความสัมพันธ์ระหว่างการสูญเสียเลือด ระดับน้ำตาลในเลือด และระดับแมกนีเซียมในเลือดกับการเกิดภาวะการทำหน้าที่ผิดปกติของอวัยวะหลายระบบภายใน 24 ชั่วโมงแรกในผู้ป่วยหลังการผ่าตัดหัวใจแบบเปิด.
หฤทัย แซ่ตั้ง, อรพรรณ โตสิงห์, สุพร ดนัยดุษฎีกุล, เกรียงไกร ตันติวงศ์โกสีย์. (2557).
วารสารสภาการพยาบาล, 29(3), 80-91.
8) ความสัมพันธ์ระหว่างการรักษา ความรู้เรื่องเพศสัมพันธ์ ความใกล้ชิดสนิทสนมของคู่ครองกับการทำหน้าที่ทางเพศของผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนักที่มีโคลอสโตมีย์.
ณัฐธยาน์ วีระพงษ์, ทิพา ต่อสกุลแก้ว, สุพร ดนัยดุษฎีกุล. (2557).
วารสารโรคมะเร็ง, 34(3), 129-140.