…การพยาบาลนั้น ไม่ใช่ว่าจะมีประโยชน์แต่การพยาบาลอย่างเดียว
ย่อมเป็นประโยชน์สำหรับบำรุงชาติและบ้านเมืองของเราด้วย…
ชื่อ | รศ.ดร.ศรินรัตน์ ศรีประสงค์ |
---|---|
ตำแหน่ง | |
รองศาสตราจารย์ | |
อีเมล | sarinrut.sri@mahidol.ac.th |
ที่อยู่ | เลขที่ 2 ถนนวังหลัง แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ 10700 |
โทร | 02-4197466-80 ต่อ 1958 |
1) The preparation for interprofessional practice (IPP) in nursing students at Mahidol university, Thailand: the situation analysis.
Benjasirisan, C., Phianhasin, L., Ruksakulpiwat, S., Saneha, C., Boontein, P., Sriprasong, S., Kositamongkon, S., Samai, T., Prapaiwong, P., Musikthong, J., Tosuksri, W., Pattana-umpa, N., Phligbua, W., Riangkam, C., Poungkaew, A., Kongkar, R., Hanrop, S., Kasetkala, P., Jariyasakulwong, P., Lekdamrongkul, P., Tadsuan, J., Puwarawuttipanich, W.. (2021).
Siriraj Medical Journal, 73(2), 128-140.
1) ปัจจัยทำนายการดูแลตนเองของผู้ป่วยภาวะหัวใจห้องบนสั่นพลิ้ว.
พรรณธร โอภาศิริโฆษิต, ศรินรัตน์ ศรีประสงค์, ดวงรัตน์ วัฒนกิจไกรเลิศ, คมสิงห์ เมธาวีกุล. (2567).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 42(2), 19-31.
2) ปัจจัยทำนายความต้องการการเรียนรู้ในผู้ป่วยภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน.
ธนัชชา มิตรเปรียญ, ศรินรัตน์ ศรีประสงค์, ดวงรัตน์ วัฒนกิจไกรเลิศ, ธรรมรัฐ ฉันทแดนสุวรรณ. (2567).
วารสารสภาการพยาบาล, 39(3), 328-341.
3) ปัจจัยทำนายความถูกต้องในการคัดแยกผู้ป่วยสูงอายุ ณ ห้องฉุกเฉิน.
สุพรรณี เฮ้าชุน, ศรินรัตน์ ศรีประสงค์, วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์. (2567).
วารสารพยาบาลทหารบก, 25(2), 186-194.
4) ปัจจัยทำนายพฤติกรรมทางเพศในผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรงที่รอดชีวิต.
กัญญาพัชร ศรีฟ้า, จงจิต เสน่หา, ศรินรัตน์ ศรีประสงค์, นพดล โสภารัตนาไพศาล. (2566).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 41(1), 87-99.
5) ปัจจัยทำนายความพร้อมก่อนจำหน่ายจากโรงพยาบาลในผู้ป่วยหัวใจล้มเหลว.
ณัฐชญา ชัยผดุง, ศรินรัตน์ ศรีประสงค์, จงจิต เสน่หา, ฉัตรกนก ทุมวิภาต. (2566).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 41(1), 73-86.
6) ปัจจัยทำนายความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรมทางกายในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง.
โชติดา วรพันธ์, ดวงรัตน์ วัฒนกิจไกรเลิศ, ศรินรัตน์ ศรีประสงค์, ณับผลิกา กองพลพรหม. (2566).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 41(1), 59-72.
7) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการทำหน้าที่ทางเพศของผู้ป่วยชายที่มีภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันภายหลังการขยายหลอดเลือดหัวใจ.
เตือนใจ โพธิ์ประดับ, จงจิต เสน่หา, ศรินรัตน์ ศรีประสงค์, ธรรมรัฐ ฉันทแดนสุวรรณ. (2566).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 41(2), 33-45.
8) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการมีกิจกรรมทางกายในผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว.
กนกวรรณ ลือชา, ดวงรัตน์ วัฒนกิจไกรเลิศ, ศรินรัตน์ ศรีประสงค์, ฉัตรกนก ทุมวิภาต. (2566).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 41(2), 46-61.
9) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่ออาการไม่พึงประสงค์ในผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจห้องบนเต้นพลิ้ว.
นฤนาท ไชยจำ, ศรินรัตน์ ศรีประสงค์, จงจิต เสน่หา, คมสิงห์ เมธาวีกุล. (2566).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 41(2), 62-75.
10) ปัจจัยทำนายความร่วมมือในการรับประทานยาต้างเกล็ดเลือดสองชนิด ในผู้ป่วยภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน หลังทำหัตถการขยายหลอดเลือดหัวใจ.
ชาคริญาณ์ บุญเกื้อ, ดวงรัตน์ วัฒนกิจไกรเลิศ, ศรินรัตน์ ศรีประสงค์, ฉัตรกนก ทุมวิภาต. (2565).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 40(3), 60-75.
11) ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ.
ลภัสรดา นาชัย, ศรินรัตน์ ศรีประสงค์, จงจิต เสน่หา, ธรรมรัฐ ฉันทแดนสุวรรณ. (2565).
วารสารสภาการพยาบาล, 37(3), 93-108.
12) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อระยะเ วลาในการตัดสินใจมาโรงพยาบาลของผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสเลือด.
ศศิธร พินพาท, วิมลรัตน์ ภู่วราวุฒิพานิช, ศรินรัตน์ ศรีประสงค์, ยงค์ รงค์รุ่งเรือง. (2565).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 40(1), 99-111.
13) ประสิทธิผลของโปรแกรมการจัดการโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังผ่านสมาร์ตโฟนแอปพลิเคชันต่อสถานะทางคลินิกในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง.
จิณห์สุตา ทัดสวน, ดวงรัตน์ วัฒนกิจไกรเลิศ, ศรินรัตน์ ศรีประสงค์. (2564).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 39(3), 17-32.
14) อิทธิพลของความวิตกกังวล เจตคติ ความเชื่อ และความรู้เกี่ยวกับอาการต่อระยะเวลาการตัดสินใจมารับการรักษาในผู้ป่วยภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน.
ศศิธร โตมอญ, จงจิต เสน่หา, ศรินรัตน์ ศรีประสงค์, ฉัตรกนก ทุมวิภาต. (2562).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 37(2), 60-77.
15) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความร่วมมือในการรับประทานยาต้านเกล็ดเลือดในผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันชนิดเอสทียกสูงหลังได้รับการขยายหลอดเลือดหัวใจ.
เกศริน ศรีเพ็ชร, จงจิต เสน่หา, ศรินรัตน์ ศรีประสงค์, เอนก กนกศิลป์. (2562).
วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, 30(2), 111-125.
16) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล การรับรู้เกี่ยวกับวิธีการให้ยาอย่างปลอดภัยกับการปฏิบัติการให้ยาอย่างปลอดภัยของนักศึกษาพยาบาลในสถาบันการศึกษาพยาบาลแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร.
จงจิต เสน่หา, จงกลวรรณ มุสิกทอง, ศรินรัตน์ ศรีประสงค์, ธนิษฐา สมัย. (2561).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 36(1), 17-30.
17) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน พฤติกรรมการมีส่วนร่วม และความพึงพอใจต่อการเรียนของนักศึกษาพยาบาลหลังการเรียนแบบที: การวิจัยนำร่อง.
ศรินรัตน์ ศรีประสงค์, ธนิษฐา สมัย, พรรณิภา สืบสุข. (2559).
วารสารการพยาบาลและสุขภาพ, 10(1), 63-73.
1) ปัจจัยทำนายความสม่ำเสมอในการรับประทานยาในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน.
นันทิยา แสงทรงฤทธิ์, วันเพ็ญ ภิญโญภาสกุล, ศศิมา กุสุมา ณ อยุธยา, ศรินรัตน์ ศรีประสงค์, ยงชัย นิละนนท์. (2557).
พยาบาลสาร, 41(2), 61-71.