…การพยาบาลนั้น ไม่ใช่ว่าจะมีประโยชน์แต่การพยาบาลอย่างเดียว
ย่อมเป็นประโยชน์สำหรับบำรุงชาติและบ้านเมืองของเราด้วย…
ชื่อ | รศ.ดร.สุดาภรณ์ พยัคฆเรือง |
---|---|
ตำแหน่ง | |
รองศาสตราจารย์ | |
อีเมล | sudaporn.pay@mahidol.ac.th |
ที่อยู่ | เลขที่ 2 ถนนวังหลัง แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ 10700 |
โทร | 02-4197466-80 ต่อ 1858 |
1) Enhancing maternal self-efficacy in caring for preterm infants with ventilator through a telehealth program: a randomized controlled trial.
Kongsaenkaew, K., Rungamornrat, S., Payakkaraung, S.. (2024).
Pacific Rim International Journal of Nursing Research, 28(1), 88-102.
2) Children's self-report and caregivers' perception of chemotherapy symptoms in children receiving chemotherapy for cancer treatment.
Sherdsang, L., Payakkaraung, S., Thampanichawat, W.. (2024).
Journal of Health Research, 38(4), 322-329.
3) Pain management competency and its associated factors among nurses.
Shrestha, I., Payakkaraung, S., Sanasuttipun, W.. (2023).
Journal of Nepal Health Research Council, 20(3), 623-629.
4) Factors predicting chronic malnutrition among young children in Myanmar.
Mon, T., Payakkaraung, S., Rungamornrat, S.. (2023).
Journal of Population and Social Studies, 31(1), 637-651.
5) Factors influencing Tanzanian mothers’ feeding practices for toddlers: A predictive correlational study.
Bukuku, D., Prasopkittikun, T., Payakkaraung, S., Lenwari, C. (2023).
Belitung Nursing Journal, 0, 0-0.
6) Factors predicting six-month exclusive breastfeeding among mothers in Ho Chi Minh City, Vietnam.
Thi Nguyen, N., Prasopkittikun, T., Payakkaraung, S., Vongsirimas, N.. (2022).
Journal of Health Research, 36(2), 219-230.
7) The Effectiveness of Parent Manipulation on Newborns with Postural Clubfoot: A Randomized Controlled Trial.
Ranoo Chaweerat, Kamolporn Kaewpornsawan, Pimol Wongsiridej, Payakkaraung, S., Siwapom Sinnoi, Sujidtra Meesamanpong. (2014).
Journal of the Medical Association of Thailand, 97(Suppl9), 68-72.
1) ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อของผู้ดูแลผู้ป่วยเด็กโรคมะเร็งที่ได้รับยาเคมีบำบัด.
ธัชกร คล้ายสุบรรณ, อรุณรัตน์ ศรีจันทรนิตย์, สุดาภรณ์ พยัคฆเรือง. (2567).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 42(3), 105-118.
2) ประสบการณ์การส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ของพยาบาลที่เคยติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019: การศึกษาปรากฏการณ์วิทยา.
สุดาภรณ์ พยัคฆเรือง, กรกนก เกื้อสกุล, ญาดา หงษ์โต. (2567).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 42(3), 1-16.
3) ปัจจัยทำนายคุณภาพชีวิตของผู้ดูแลเด็กโรคทางเดินน้ำดีตีบตัน.
อรพรรณ โนนน้อย, สุดาภรณ์ พยัคฆเรือง, วนิดา เสนะสุทธิพันธุ์. (2566).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 41(3), 94-108.
4) ปัจจัยทำนายระยะเวลาการเปลี่ยนผ่านสู่การดูดนมแม่ได้เองในทารกเกิดก่อนกำหนด.
แคทธียา เป็นเอก, วัลยา ธรรมพนิชวัฒน์, สุดาภรณ์ พยัคฆเรือง. (2566).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 41(4), 17-31.
5) ปัจจัยทำนายสมรรถนะของตนเองของมารดาในการให้การดูแลที่บ้านแก่เด็กโรคปอดอักเสบในเมืองย่างกุ้ง ประเทศพม่า.
เมียด แพน นู เนียง, สุดาภรณ์ พยัคฆเรือง, วนิดา เสนะสุทธิพันธุ์. (2565).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 40(3), 120-134.
6) ผลของการใช้แนวปฏิบัติการควบคุมเสียงต่อพฤติกรรมการควบคุมเสียงของพยาบาลและระดับเสียงในหอผู้ป่วยทารกแรกเกิดวิกฤต.
ณัฐณิชา ปานพยัพ, วัลยา ธรรมพนิชวัฒน์, สุดาภรณ์ พยัคฆเรือง. (2565).
วารสารสภาการพยาบาล, 37(3), 44-58.
7) ผลของโปรแกรมอบรมการช่วยกู้ชีพทารกต่อความรู้และการปฏิบัติในการช่วยกู้ชีพทารกเกิดก่อนกำหนดของบิดามารดา.
กนกทิพย์ เกตุทองสุข, วัลยา ธรรมพนิชวัฒน์, สุดาภรณ์ พยัคฆเรือง, ภาพรรณ เงินฉ่ำ. (2565).
วารสารพยาบาล, 71(4), 10-19.
8) ความตั้งใจเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ของมารดาที่ได้รับข้อมูล การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ผ่านสื่อต่างกัน.
แววตา ศรีทอง, สุดาภรณ์ พยัคฆเรือง, พรรณรัตน์ แสงเพิ่ม. (2565).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 40(2), 49-66.
9) การเปรียบเทียบพฤติกรรมการดูดนมมารดาและอัตราการดูดนมของทารกเกิดก่อนกำหนดที่ดูดเต้านมเปล่าในจำนวนครั้งที่ต่างกัน.
สิริลักษณ์ แม้นเลิศ, วัลยา ธรรมพนิชวัฒน์, สุดาภรณ์ พยัคฆเรือง. (2564).
วารสารเกื้อการุณย์, 28(1), 94-107.
10) ความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติของผู้ปกครองเกี่ยวกับ การใช้ยาปฏิชีวนะในเด็กที่มีการติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบนในประเทศกัมพูชา.
Kim, S., ทัศนี ประสบกิตติคุณ, สุดาภรณ์ พยัคฆเรือง. (2564).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 39(4), 83-96.
11) ความต้องการและการได้รับการตอบสนองความต้องการของผู้ดูแลในการมีส่วนร่วมเพื่อบรรเทาความปวดจากหัตถการที่ใช้เข็มของผู้ป่วยเด็กในหออภิบาลกุมารเวชกรรม: การรับรู้ของผู้ดูแลและพยาบาล.
เพ็ญรัชต์ โค้วไพโรจน์, สุดาภรณ์ พยัคฆเรือง, อาภาวรรณ หนูคง. (2564).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 39(4), 55-96.
12) ผลของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนต่อความรู้ในการบริหารยาฉีดและการคำนวณยาของพยาบาลเด็ก.
กรรณิการ์ ชัยลี, วัลยา ธรรมพนิชวัฒน์, สุดาภรณ์ พยัคฆเรือง. (2563).
วารสารพยาบาลทหารบก, 21(1), 245-254.
13) ปัจจัยทำนายความสม่ำเสมอในการใช้ยาพ่นของเด็กวัยเรียนโรคหืดในโรงพยาบาลระดับตติยภูม.
สุดารัตน์ วันงามวิเศษ, อาภาวรรณ หนูคง, สุดาภรณ์ พยัคฆเรือง. (2562).
วารสารวิจัยทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ, 13(2), 20-29.
14) ผลของโปรแกรมการสอนต่อความรู้และการปฏิบัติของผู้ดูแลในการดูแลเด็กโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน.
อรวรรณ หล้าสวัสดิ์, สุดาภรณ์ พยัคฆเรือง, พรรณรัตน์ แสงเพิ่ม . (2562).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 37(3), 63-78.
15) ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ ทัศนคติ และอุปสรรค กับพฤติกรรมของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยเด็กแบบประคับประคอง.
จินตนา เทพเสาร์, สุดาภรณ์ พยัคฆเรือง, วนิดา เสนะสุทธิพันธุ์, อรุณรัตน์ ศรีจันทรนิตย์. (2561).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 36(2), 18-29.
16) ผลของโปรแกรมกระตุ้นน้ำนมต่อปริมาณน้ำนมและระยะเวลามรามารดามรน้ำนมเพียงพอสำหรับทารก ในมารดาทารกเกิดก่อนกำหนดที่ผ่าตัดคลอด.
กนกพร เอื่ออารีย์กุล, พรรณรัตน์ แสงเพิ่ม, สุดาภรณ์ พยัคฆเรือง. (2561).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 36(3), 71-82.
17) ประสบการณ์การพบอาการหอบของเด็กและกลวิธีในการจัดการอาการของผู้ดูแลเด็กโรคหืดที่มีความรุนแรงของอาการหอบแตกต่างกัน.
กัลยา ประจงดี, อาภาวรรณ หนูคง, สุดาภรณ์ พยัคฆเรือง. (2560).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 35(2), 52-63.
18) ผลของโปรแกรมการให้ความรู้เรื่องการจัดสิ่งแวดล้อมเพื่อส่งเสริมพัฒนาการทารกเกิดก่อนกำ หนด ต่อความรู้และการปฏิบัติของพยาบาล ในหออภิบาลทารกแรกเกิด.
เนตรชนก พีสะระ, สุดาภรณ์ พยัคฆเรือง, วัลยา ธรรมพนิชวัฒน์, สมสิริ รุ่งอมรรัตน์. (2560).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 35(2), 4-14.
19) รูปแบบการสร้างเสริมพัฒนาการด้านภาษาแก่เด็กอายุ 2-4 ปี โดยบิดามารดาหรือผู้ดูแล: กรณีศึกษาศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านราชคราม จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
ยุวดี พงษ์สาระนันทกุล, สุดาภรณ์ พยัคฆเรือง. (2559).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 34(2), 34-44.
20) อิทธิพลส่งผ่านของความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วยระหว่างการรับรู้ความรุนแรงในความเจ็บป่วยของบุตร ระดับการศึกษาและการสนับสนุนทางสังคม กับความวิตกกังวลของบิดามารดาที่มีบุตรเข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยเด็กวิกฤต.
สุดาภรณ์ พยัคฆเรือง, มณีรัตน์ หม้ายพิมาย, อาภาวรรณ หนูคง. (2559).
วารสารพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 28(3), 84-97.
21) ปัญหาการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในระยะแรกหลังคลอดจากประสบการณ์ของมารดา.
สุดาภรณ์ พยัคฆเรือง, พรรณรัตน์ แสงเพิ่ม, ชญาดา สามารถ. (2559).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 34(3), 30-40.
22) ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความสำคัญของข้อมูล ความเข้าใจข้อมูล และความวิตกกังวลของบิดามารดาผู้ป่วยเด็กในระยะพักฟื้นหลังผ่าตัดหัวใจ.
ปนัทดา แก้วเปรม, วัลยา ธรรมพนิชวัฒน์, สุดาภรณ์ พยัคฆเรือง. (2557).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 32(3), 85-92.
23) มุมมองของผู้ดูแลต่อการส่งเสริมพัฒนาการเด็กของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก.
สุดาภรณ์ พยัคฆเรือง, พรรณรัตน์ แสงเพิ่ม . (2557).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 32(2), 62-70.
1) ผลของโปรแกรมการสอนเพื่อบรรเทาอาการท้องผูกของผู้ป่วยเด็กหลังผ่าตัดแก้ไขภาวะผิดรูปของทวารหนักและลำไส้ตรง หรือโรคลำไส้ใหญ่โป่งพองแต่กำเนิด.
จินตนา แสงงาม, วัลยา ธรรมพนิชวัฒน์, มงคล เลาหเพ็ญแสง, สุดาภรณ์ พยัคฆเรือง. (2558).
วารสารสภาการพยาบาล, 30(1), 86-98.
2) ดนตรีบำบัดต่อความเจ็บปวดจากการเจาะไขกระดูกในเด็กวัยเรียน.
พรรณทิพา ขำโพธิ์, นงลักษณ์ จินตนาดิลก, สุดาภรณ์ พยัคฆเรือง, อังคณา วินัยชาติศักดิ์. (2557).
วารสารสภาการพยาบาล, 29(1), 82-94.
3) ผลของการจัดท่านอนขณะและหลังให้นมทางสายให้อาหารต่อความสามารถในการรับนมของทารกเกิดก่อนกำหนดที่มีน้ำหนักตัวน้อย.
หทัยชนก นิติกุล, สุดาภรณ์ พยัคฆเรือง, นงลักษณ์ จินตนาดิลก, จันทนา พันธ์บูรณะ. (2557).
วารสารสภาการพยาบาล, 29(4), 32-44.