…การพยาบาลนั้น ไม่ใช่ว่าจะมีประโยชน์แต่การพยาบาลอย่างเดียว
ย่อมเป็นประโยชน์สำหรับบำรุงชาติและบ้านเมืองของเราด้วย…
ชื่อ | ผศ.ดร.วรรณา พาหุวัฒนกร |
---|---|
ตำแหน่ง | |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ | |
อีเมล | wanna.pha@mahidol.ac.th |
ที่อยู่ | เลขที่ 2 ถนนวังหลัง แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ 10700 |
โทร | 02-4197466-80 ต่อ 1805 |
1) The influence of types of gestational diabetes mellitus, self-management, social support, and risk perception on health-related quality of life in pregnant women with gestational diabetes mellitus.
Phummanee, R., Limruangrong, P., Phahuwatanakorn, W.. (2024).
Thai Journal of Obstetrics and Gynaecology, 32(2), 156-164.
2) Factors related to exclusive breastfeeding in Thai adolescent mothers: Concept mapping approach.
Nuampa, S., Tilokskulchai, F., Patil, C., Sinsuksai, N., Phahuwatanakorn, W.. (2018).
Maternal & Child Nutrition, 15(2), 0-0.
1) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความเหนื่อยล้าในระยะคลอดของผู้คลอดครรภ์แรก.
วิภวานี ทาเอื้อ, ฤดี ปุงบางกะดี่, วรรณา พาหุวัฒนกร. (2567).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 42(1), 84-94.
2) ผลของโปรแกรมส่งเสริมความเข้าใจเกี่ยวกับการตรวจวินิจฉัยก่อนคลอดผ่านสื่อสังคมออนไลน์ต่อความวิตกกังวลและความรู้ของคู่เสี่ยงต่อการมีทารกเป็นโรคธาลัสซีเมียชนิดรุนแรง.
วราพร รุ่งโรจน์ประทีป, วรรณา พาหุวัฒนกร, ปิยะนันท์ ลิมเรืองรอง, พฤหัส จันทร์ประภาพ. (2567).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 42(2), 73-88.
3) อิทธิพลของปัจจัยส่วนบุคคล การสนับสนุนทางสังคม และการรับรู้สมรรถนะแห่งตน ต่อพฤติกรรมการแสวงหาข้อมูลด้านสุขภาพของสตรีที่มีภาวะเบาหวานขณะตั้งครรภ์.
ปรีดาวรรณ กะสินัง, ปิยะนันท์ ลิมเรืองรอง, วรรณา พาหุวัฒนกร, ดิฐกานต์ บริบูรณ์หิรัญสาร. (2567).
วารสารแพทย์นาวี, 51(1), 28-46.
4) ประสิทธิผลของโปรแกรมการเตรียมตัวเพื่อการคลอด ต่อการรับรู้สมรรถนะในการเผชิญความเจ็บปวด ระดับความเจ็บปวด และพฤติกรรมการเผชิญความเจ็บปวดในระยะที่หนึ่งของการคลอดในมารดาที่คลอดบุตรคนแรก.
สุกัญญา บังเมฆ, ปิยะนันท์ ลิมเรืองรอง, วรรณา พาหุวัฒนกร. (2566).
วารสารพยาบาลทหารบก, 24(1), 201-210.
5) อิทธิพลของความเครียด เวลาที่ดูดนมแม่ครั้งแรก จำนวนครั้งของการตั้งครรภ์ ชนิดของการผ่าตัดคลอด การได้รับยาเพทิดีนและยาออกซิโตซินต่อระยะเวลาการไหลของน้ำนมแม่ครั้งแรกในมารดาหลังผ่าตัดคลอด.
ชนันรัตน์ บุญดี, วรรณา พาหุวัฒนกร, ปิยะนันท์ ลิมเรืองรอง, พฤหัส จันทร์ประภาพ. (2566).
วารสารพยาบาลทหารบก, 24(1), 211-220.
6) ผลของโปรแกรมสนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ร่วมกับผู้ดูแลต่อการรับรู้ความไม่เพียงพอของน้้านม และอัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวที่ 1 เดือนในมารดาผ่าตัดคลอด.
ณชพัฒน์ จีนหลักร้อย, วรรณา พาหุวัฒนกร, ปิยะนันท์ ลิมเรืองรอง. (2566).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 41(3), 50-63.
7) อิทธิพลของอายุ ความรู้เกี่ยวกับการคลอด การสนับสนุนในระยะคลอด ระยะเวลาของการคลอด และความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองต่อการรับรู้ประสบการณ์การคลอดในผู้คลอดครรภ์แรก.
ถกลรัตน์ หนูฤกษ์, ปิยะนันท์ ลิมเรืองรอง, วรรณา พาหุวัฒนกร. (2566).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 41(4), 32-43.
8) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนผ่านการเป็นมารดาในสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่น.
ณัฐธนาฒย์ เมฆาวรรณ์, วรรณา พาหุวัฒนกร, เอมพร รตินธร. (2566).
วารสารพยาบาลตำรวจ, 15(2), 307-318.
9) ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการสื่อสารเรื่องเพศระหว่างผู้ปกครองและมารดาวัยรุ่นในการป้องกันการตั้งครรภ์ซ้ำ.
กุลธิดา ทรัพย์สมบูรณ์, วรรณา พาหุวัฒนกร, ทิวาภรณ์ เฉลิมพิชัย, ดิฐกานต์ บริบูรณ์หิรัญสาร . (2565).
วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี กรุงเทพ, 38(1), 49-60.
10) อิทธิพลของระยะเวลาการคลอด สุขภาพจิต อายุ จำานวนครั้งของการคลอดรูปแบบการให้นมและการสนับสนุนทางสังคม ต่อความเหนื่อยล้าหลังคลอดในมารดาหลังคลอดปกติ.
อชิรญา วัฏฏสันติ, วรรณา พาหุวัฒนกร, ปิยะนันท์ ลิมเรืองรอง. (2565).
วารสารเกื้อการุณย์, 29(2), 230-243.
11) อิทธิพลของอายุ ความรู้ ความเชื่อ การสนับสนุน และการเข้าถึงบริการ ต่อการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 สัปดาห์ ในมารดาหลังคลอดชาวเขา.
ปภาวรินทร์ วังดี, วรรณา พาหุวัฒนกร, ปิยะนันท์ ลิมเรืองรอง. (2565).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 40(2), 1-16.
12) อิทธิพลของปัจจัยส่วนบุคคล ดัชนีมวลกาย ทัศนคติ และการสนับสนุนทางสังคมต่อการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 4 สัปดาห์ในมารดาหลังคลอด.
อรจิรา สัจธรรม, ปิยะนันท์ ลิมเรืองรอง, วรรณา พาหุวัฒนกร, พฤหัส จันทร์ประภาพ. (2565).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 40(2), 34-48.
13) ปัจจัยทำนายด้านความรู้ ทัศนคติ การคล้อยตามกลุ่มอ้างอิง และการรับรู้ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรมต่อความตั้งใจในการคุมกำเนิดระยะยาวในสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่นครรภ์แรก.
พัชราวรรณ เครื่องแก้ว, วรรณา พาหุวัฒนกร, ฤดี ปุงบางกะดี่. (2564).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 39(1), 64-76.
14) ผลของโปรแกรมฝึกทักษะการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ต่อประสิทธิภาพ การรับรู้สมรรถนะของตนเอง และอัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวของมารดาวัยรุ่นที่มีบุตรคนแรก.
อัญชนา ปันอินแปง, วรรณา พาหุวัฒนกร, ปิยะนันท์ ลิมเรืองรอง. (2564).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 39(4), 27-40.
15) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการป้องกันตั้งครรภ์ซ้ำของมารดาวัยรุ่นหลังคลอด.
กุลธิดา ทรัพย์สมบูรณ์, วรรณา พาหุวัฒนกร, ทิวาภรณ์ เฉลิมพิชัย, ดิฐกานต์ บริบูรณ์หิรัญสาร. (2564).
วารสารพยาบาลทหารบก, 22(3), 322-330.
16) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือนในมารดาที่ทำงานนอกบ้าน.
ชิดชนก พันธ์ป้อม, วรรณา พาหุวัฒนกร, ปิยะนันท์ ลิมเรืองรอง. (2563).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 38(1), 47-59.
17) ปัจจัยทำนายน้ำหนักที่เพิ่มขึ้นในขณะตั้งครรภ์ของสตรีที่มีภาวะน้ำหนักเกินและอ้วน.
พรนิภา ดีมงคล, ปิยะนันท์ ลิมเรืองรอง, วรรณา พาหุวัฒนกร, ดิฐกานต์ บริบูรณ์หิรัญสาร. (2563).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 38(2), 46-58.
18) -.
วิมลนันท์ พุฒิวณิชพงศ์, วรรณา พาหุวัฒนกร, Soonthornchaiya, R. (2563).
วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร, 8(5), 1639-1652.
19) ผลของการสัมผัสแบบเนื้อแนบเนื้อระหว่างมารดาและทารกภายหลังคลอดโดยเร็ว ต่อประสิทธิภาพการดูดนมของทารกและการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวนานหนึ่งเดือน.
กรกนก เกื้อสกุล, นิตยา สินสุกใส, วรรณา พาหุวัฒนกร, วิทยา ถิฐาพันธ์. (2562).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 37(4), 66-78.
20) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสมรรถนะในการเลี้ยงดูบุตร ในมารดาหลังคลอดบุตรคนแรก.
สุนีย์ กลีบปาน, วรรณา พาหุวัฒนกร, ฉวีวรรณ อยู่สำราญ, วิมลนันท์ พุฒิวณิชพงศ์. (2562).
วารสารพยาบาลทหารบก, 20(2), 140-149.
21) ปัจจัยด้านการปรับตัวที่มีอิทธิพลต่อสุขภาพจิตของมารดาหลังคลอด.
สุพรรณิกา ปานศรี, วรรณา พาหุวัฒนกร, ฉวีวรรณ อยู่สำราญ, วิมลนันท์ พุฒิวณิชพงศ์. (2562).
วารสารพยาบาลทหารบก, 20(2), 160-169.
22) ปัจจัยทำนายการเริ่มหลั่งน้ำนมในมารดาที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่.
นิรัตน์ชฎา ไชยงาม, ฉวีวรรณ อยู่สำราญ, วรรณา พาหุวัฒนกร. (2562).
วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ, 37(1), 52-59.
23) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 4 สัปดาห์ ในมารดาวัยรุ่นที่มีบุตรคนแรก.
สุภัสสร เลาะหะนะ, นิตยา สินสุกใส, วรรณา พาหุวัฒนกร. (2561).
วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี กรุงเทพ, 34(2), 36-47.
24) อิทธิพลของอายุ การวางแผนการตั้งครรภ์ ความเครียด และสัมพันธภาพระหว่างคู่สมรสต่อความรักใคร่ผูกพันระหว่างมารดาและทารกหลังคลอด ในมารดาที่ฝากครรภ์ไม่ครบตามเกณฑ์.
เสาวรส แพงทรัพย์, วรรณา พาหุวัฒนกร, ฉวีวรรณ อยู่สำราญ, ดิฐกานต์ บริบูรณ์หิรัญสาร. (2561).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 36(3), 34-45.
25) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตอบสนองความต้องการของทารกในมารดาที่มีบุตรคนแรก.
จีรันดา อ่อนเจริญ, นิตยา สินสุกใส, วรรณา พาหุวัฒนกร, ปิยะนันท์ ลิมเรืองรอง. (2560).
วารสารพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 29(2), 87-98.
26) ผลของโปรแกรมการเสริมสร้างการรับรู้ความสามารถของตนเองในระยะคลอดต่อพฤติกรรมการเผชิญความเจ็บปวดของผู้คลอดครรภ์แรก.
สุริศาฐ์ พานทองชัย, ฉวีวรรณ อยู่สำราญ, วรรณา พาหุวัฒนกร. (2560).
วารสารเกื้อการุณย์, 24(1), 130-46.
27) อิทธิพลของทัศนคติ การคล้อยตามกลุ่มอ้างอิง และการรับรู้สมรรถนะแห่งตนต่อความตั้งใจในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวในสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่น.
สุภาพันธ์ จันทร์ศิริ, วรรณา พาหุวัฒนกร, ฉวีวรรณ อยู่สำราญ. (2560).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 35(4), 49-60.
28) ปัจจัยด้านมารดา ทารก และสิ่งแวดล้อมในการทำนายความสำเร็จของบทบาทการเป็นมารดาหลังคลอดทารกก่อนกำหนด.
นฤมล จีนเมือง, วรรณา พาหุวัฒนกร, ฉวีวรรณ อยู่สำราญ, Jeenmuang N. (2559).
วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์, 8(2), 44-53.
29) ผลของการให้ความรู้และการสนับสนุนมารดาวัยรุ่นครรภ์แรกและยายต่อความสำเร็จในการดำรงบทบาทการเป็นมารดา.
ฉวีวรรณ อยู่สำราญ, แสงจันทร์ สุนันต๊ะ, วรรณา พาหุวัฒนกร. (2559).
วารสารพยาบาลทหารบก, 17(2), 125-134.
30) ผลของการให้การปรึกษาเพื่อสร้างแรงจูงใจต่อการใช้การคุมกำเนิดระยะยาวในสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่น: การศึกษานำร่อง.
เอมพร รตินธร, กรรณิการ์ แสงประจง, วรรณา พาหุวัฒนกร. (2559).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 34(suppl1), 28-39.
31) ผลของโปรแกรมส่งเสริมโภชนาการและการรับประทานยาบำรุงธาตุเหล็กต่อภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในสตรีตั้งครรภ์.
วิภาวดี พิพัฒน์กุล, นิตยา สินสุกใส, วรรณา พาหุวัฒนกร. (2558).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 33(1), 69-76.
32) ปัจจัยทำนายความวิตกกังวลในสตรีที่ได้รับการวินิจฉัยเบาหวานครั้งแรกขณะตั้งครรภ์.
อมรรัตน์ ผาละศรี, วรรณา พาหุวัฒนกร, เอมพร รตินธร. (2558).
วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ, 33(2), 15-22.
33) อิทธิพลของความเครียด การสนับสนุนทางสังคม ความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง และความรุนแรงที่เกิดจากคู่สมรสต่อภาวะซึมเศร้าหลังคลอดในมารดาวัยรุ่น.
พรพรรณ อินต๊ะ, นันทนา ธนาโนวรรณ, วรรณา พาหุวัฒนกร, พวงเพชร เกษรสมุทร. (2558).
วารสารการพยาบาลและสุขภาพ, 9(1), 95-104.
34) ผลของการบริหารการหายใจร่วมกับการจัดท่าศีรษะสูงต่อความเจ็บปวดและระยะเวลาการคลอดในผู้คลอดครรภ์แรก.
ขวัญใจ เพทายประกายเพชร, ฉวีวรรณ อยู่สำราญ, วรรณา พาหุวัฒนกร. (2558).
วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี, 26(2), 52-62.
35) ปัจจัยทำนายการคลอดทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย.
รุ่งนภา รู้ชอบ, นิตยา สินสุกใส, วรรณา พาหุวัฒนกร, ดิฐกานต์ บริบูรณ์หิรัญสาร. (2558).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 33(3), 18-29.
36) ปัจจัยทำนายการรับรู้ความไม่เพียงพอของน้ำนมในมารดาวัยรุ่น.
นรินทร์ทิพย์ อนันตกุลนธี, วรรณา พาหุวัฒนกร, นิตยา สินสุกใส, พฤหัส จันทร์ประภาพ. (2558).
วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ, 33(3), 52-61.
37) ผลของการใช้ความเย็นและความร้อนต่อการอักเสบและความเจ็บปวดของแผลฝีเย็บในมารดาหลังคลอด.
ทิพย์วรรณ จันทร์มณี, ฉวีวรรณ อยู่สำราญ, เอมพร รตินธร, วรรณา พาหุวัฒนกร. (2557).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 32(4), 25-34.
38) ปัจจัยทำนายน้ำหนักที่เพิ่มขึ้นของสตรีขณะตั้งครรภ์.
บุญสิตา จันทร์ดี, เยาวลักษณ์ เสรีเสถียร, วรรณา พาหุวัฒนกร. (2557).
วารสารพยาบาลทหารบก, 15(2), 339-347.
39) ความรู้ ทัศนคติ การรับรู้สมรรถนะในตนเอง และการสนับสนุนจากสามีและพยาบาลในการทำนายการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 สัปดาห์.
สุวรรณา ชนะภัย, นิตยา สินสุกใส, นันทนา ธนาโนวรรณ, วรรณา พาหุวัฒนกร. (2557).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 32(1), 51-60.
1) ผลของดนตรีร่วมกับการสร้างจินตภาพต่อความเจ็บปวดและพฤติกรรมการเผชิญความเจ็บปวดในระยะที่ 1 ของการคลอดในผู้คลอดครรภ์แรก.
นันธิดา วัดยิ้ม, เอมพร รตินธร, วรรณา พาหุวัฒนกร, เอกชัย โควาวิสารัช. (2557).
วารสารสภาการพยาบาล, 29(1), 95-107.
2) ผลของโปรแกรมการพยาบาลโดยใช้ทฤษฎีการดูแลต่อความวิตกกังวลของสตรีที่ได้รับการยุติการตั้งครรภ์เพื่อการรักษา.
สุภาภรณ์ กวัดแกว่ง, เยาวลักษณ์ เสรีเสถียร, วรรณา พาหุวัฒนกร, ดิฐกานต์ บริบูรณ์หิรัญสาร. (2557).
วารสารสภาการพยาบาล, 29(1), 55-66.