…การพยาบาลนั้น ไม่ใช่ว่าจะมีประโยชน์แต่การพยาบาลอย่างเดียว
ย่อมเป็นประโยชน์สำหรับบำรุงชาติและบ้านเมืองของเราด้วย…
ชื่อ | รศ.ดร.รักชนก คชไกร |
---|---|
ตำแหน่ง | |
รองศาสตราจารย์ | |
อีเมล | rukchanok.kos@mahidol.ac.th |
ที่อยู่ | เลขที่ 2 ถนนวังหลัง แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ 10700 |
โทร | 02-4415333 ต่อ 2668 |
1) การสร้างเสริมสุขภาวะเชิงรุกตามมุมมองและความต้องการของประชาชนวัยผู้ใหญ่ในชุมชนวัดท่าพระ จังหวัดกรุงเทพมหานคร.
จันทิมา ฤกษ์เลื่อนฤทธิ์ (หัวหน้าโครงการวิจัย), รักชนก คชไกร, ชลธิดา ลาดี.
กองทุน ซี.เอ็ม.บี คณะพยาบาลศาสตร์. 2563.
2) การจัดการความรู้เรื่องการท่องเที่ยวสุขภาพโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
รักชนก คชไกร (หัวหน้าโครงการวิจัย), จันทิมา ฤกษ์เลื่อนฤทธิ์, เวหา เกษมสุข, เสาวรส มีกุศล.
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. 2563.
3) แผนงาน “โครงการเมืองสุขภาพดีวิถีท่องเที่ยวเชิงสุขภาพผสานการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย”.
รักชนก คชไกร.
เงินงบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยมหิดล. 2562.
1) การศึกษาสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานของพยาบาลวิชาชีพในประเทศไทย.
รักชนก คชไกร (หัวหน้าโครงการวิจัย).
สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทย. 2560.
1) Effectiveness of the Thai traditional health tourism activities empowerment program on the active aging of Thai older adults.
Koshakri, R., Rerkluenrit, J.. (2024).
Journal of Public Health and Development, 22(2), 286-296.
2) Incidence, prevalence, and factors predicting diabetic retinopathy among type 2 diabetes mellitus patients in public health centers, Bangkok metropolitan administration.
Noypa, S., Krainuwat, K., Koshakri, R.. (2021).
Journal of Public Health and Development, 19(1), 31-42.
1) ประสิทธิผลของโปรแกรมการให้ความรู้ผู้สูงอายุในการดูแลตนเอง โดยใช้ภูมิปัญญาไทยในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
กัญจน์ฉัตร ณรงค์วิทย์, รักชนก คชไกร, จันทิมา ฤกษ์เลื่อนฤทธิ์. (2567).
วารสารพยาบาลทหารบก, 35(2), 231-240.
2) ผลของโปรแกรมการเยี่ยมบ้านทางไกลแบบมีปฏิสัมพันธ์อย่างมีเป้าหมาย ต่อระดับความดันโลหิตของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมไม่ได้วัยทำงานในสถานประกอบการ กรุงเทพมหานคร.
ศิริพร เภาแก้ว, รักชนก คชไกร, จันทิมา ฤกษ์เลื่อนฤทธิ์. (2567).
วารสารวิจัยทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จังหวัดนนทบุรี, 18(3), 49-60.
3) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพการส่งต่อที่ไร้รอยต่อในเขตเมืองกรุงเทพมหานคร.
สิรินรักษ์ ไชยสมบูรณ์, รักชนก คชไกร, จันทิมา ฤกษ์เลื่อนฤทธิ์. (2567).
วารสารพยาบาลทหารบก, 25(3), 161-169.
4) ผลของโปรแกรมการสนับสนุนการมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคม ต่อพฤฒิพลังของผู้สูงอายุ.
ปกครอง พงษ์พัฒนพิสิฐ, รักชนก คชไกร, เวหา เกษมสุข. (2565).
วารสารพยาบาลทหารบก, 22(3), 266-274.
5) Effect of a family member support program on exercise behavior among family members with hypertensive patients.
Sonjai, W., ยุพา จิ๋วพัฒนกุล, รักชนก คชไกร. (2563).
จุฬาลงกรณ์เวชสาร, 64(3), 299-305.
6) ความชุกและปัจจัยทํานายการเกิดโรคไตจากเบาหวานในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ในศูนย์บริการสาธารณสุข กรุงเทพมหานคร.
นิตยา สิตะเสน, กีรดา ไกรนุวัตร, รักชนก คชไกร. (2563).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 38(4), 31-43.
7) ความชุกและปัจจัยทํานายการเกิดภาวะแทรกซ้อนที่เท้าจากเบาหวานของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ในศูนย์บริการสาธารณสุข กรุงเทพมหานคร.
สุวิมล วิเศษสิงห์, กีรดา ไกรนุวัตร, รักชนก คชไกร. (2563).
วารสารแพทย์นาวี, 47(3), 641-58.
8) แนวทางการสร้างเสริมพฤฒพลังในการเป็นมัคคุเทศก์การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ: มุมมองของผู้สูงอายุกรณีศึกษาจังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
จันทิมา ฤกษ์เลื่อนฤทธิ์, รักชนก คชไกร. (2563).
วารสารพยาบาลทหารบก, 21(3), 473-480.
9) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชากรกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานในชุมชน กรุงเทพมหานคร.
จงกลณี ขันอาสา, รักชนก คชไกร, กีรดา ไกรนุวัตร. (2563).
วารสารพยาบาลทหารบก, 21(3), 109-120.
10) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความรอบรู้ด้านสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงในกรุงเทพมหานคร.
ลฎาภา ทานาค , รักชนก คชไกร, ยุพา จิ๋วพัฒนกุล. (2563).
วารสารพยาบาลทหารบก, 21(3), 140-50.
11) การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลที่ คัดสรร สภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานกับความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพในประเทศไทย.
จันทิมา ฤกษ์เลื่อนฤทธิ์, รักชนก คชไกร. (2562).
ศรีนครินทร์เวชสาร, 34(3), 287-292.
12) ผลของสมาธิบำบัด นั่งผ่อนคลาย ประสานกายประสานจิตร่วมกับการรักษาแบบเดิมต่อความดันโลหิตในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุในหน่วยบริการปฐมภูมิ.
ณัฐธิดา พระสว่าง, รักชนก คชไกร, ยุพา จิ๋วพัฒนกุล. (2561).
วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ, 36(1), 33-42.
13) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลที่คัดสรร สภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานกับการคงอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพในประเทศไทย.
จันทิมา ฤกษ์เลื่อนฤทธิ์, รักชนก คชไกร. (2561).
วารสารพยาบาลทหารบก, 19(3), 195-203.
14) การสำรวจสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานพลังบวกของพยาบาลวิชาชีพในประเทศไทย.
สุปาณี เสนาดิสัย, รักชนก คชไกร, จันทิมา ฤกษ์เลื่อนฤทธิ์, อัครเดช เกตุฉ่ำ, เสาวรส มีกุศล, ยุพา จิ๋วพัฒนกุล, เวหา เกษมสุข, สุภาภัค เภตราสุวรรณ, นันทพันธ์ ชินล้ำประเสริฐ. (2561).
วารสารพยาบาล, 67(4), 1-10.
15) การศึกษารูปแบบการให้บริการสุขภาพเคลื่อนที่สำหรับผู้สูงอายุและผู้ป่วยเรื้องรัง.
เสาวรส มีกุศล, เวหา เกษมสุข, รักชนก คชไกร, สมชาย ปฐมศิริ. (2561).
วารสารพยาบาลทหารบก, 19(suppl2), 62-69.
16) ผลของโปรแกรมการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขในการเยี่ยมบ้านให้ความรู้ผู้เป็นเบาหวานที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อนอย่างต่อเนื่องต่อระดับน้ำตาลในเลือดของผู้เป็นเบาหวานในชุมชน.
รักชนก คชไกร, เวหา เกษมสุข, จันทิมา ฤกษ์เลื่อนฤทธิ์. (2559).
วารสารพยาบาลทหารบก, 17(1), 141-147.
17) ความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้าง กระบวนการและผลลัพธ์ ด้านความพึงพอใจในการดูแลเท้าของผู้สูงอายุโรคเบาหวานที่มารับบริการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล.
รักชนก คชไกร, อัญพัชญ์ อรุณโรจน์โสภิต, วิไลวรรณ ทองเจริญ, วิไลพรรณ สมบุญตนนท. (2559).
วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์, 36(2), 181-200.
18) ความต้องการพัฒนาความสามารถของอาสาสมัครสาธารณสุขในการเยี่ยมบ้านผู้เป็นเบาหวานในชุมชน.
เวหา เกษมสุข, รักชนก คชไกร. (2558).
วารสารพยาบาลทหารบก, 16(2), 59-68.
19) การพัฒนาแนวทางการดูแลตนเองของผู้ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวในจังหวัดนครนายก ในมุมมองของผู้รับบริการและผู้ดูแลต่อความสามารถในการดูแลตนเองและการเข้ารับการรักษาตัวซ้ำในโรงพยาบาล.
จันทิมา ฤกษ์เลื่อนฤทธิ์, รักชนก คชไกร, รัมภาพรรณ ประมวลทรัพย์. (2557).
วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ, 32(1), 137-151.
20) ประสิทธิผลของโปรแกรมพัฒนาศักยภาพของอาสาสมัครสาธารณสุขต่อความรู้เรื่องโรคและความพึงพอใจต่อการบริการที่ได้รับของผู้ที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 ในชุมชนแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร.
จันทิมา ฤกษ์เลื่อนฤทธิ์, รักชนก คชไกร. (2557).
ไทยเภสัชศาสตร์และวิทยาการสุขภาพ, 9(4), 157-163.