…การพยาบาลนั้น ไม่ใช่ว่าจะมีประโยชน์แต่การพยาบาลอย่างเดียว
ย่อมเป็นประโยชน์สำหรับบำรุงชาติและบ้านเมืองของเราด้วย…
ชื่อ | รศ.ดร.ปิยะนันท์ ลิมเรืองรอง |
---|---|
ตำแหน่ง | |
รองศาสตราจารย์ | |
อีเมล | piyanun.lim@mahidol.ac.th |
ที่อยู่ | เลขที่ 2 ถนนวังหลัง แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ 10700 |
โทร | 02-4197466-80 ต่อ 1808 |
1) The influence of types of gestational diabetes mellitus, self-management, social support, and risk perception on health-related quality of life in pregnant women with gestational diabetes mellitus.
Phummanee, R., Limruangrong, P., Phahuwatanakorn, W.. (2024).
Thai Journal of Obstetrics and Gynaecology, 32(2), 156-164.
2) Prevalence and related factors of inappropriate gestational weight gain among pregnant women with overweight/ obesity in Thailand.
Chairat, T., Ratinthorn, A., Limruangrong, P., Boriboonhirunsarn, D. (2023).
BMC Pregnancy and Childbirth, 23(1), 319-0.
3) Effects of education and guided imagery program on stress level and coping behaviors among pregnant women at risk of preterm birth.
Ukhawounam, U., Limruangrong, P., Pungbangkadee, R., Vongsirimas, N.. (2023).
International Journal of Women's Health, 15, 1581-1591.
4) Re-attendance at emergency department for elderly patients with chronic obstructive pulmonary disease exacerbation.
Janda, S., Sindhu, S., Watthayu, N., Limruangrong, P., Viwatwongkasem, C., Boonsawat, W. (2020).
Ageing International, 0, 0-0.
1) ผลของโปรแกรมส่งเสริมความเข้าใจเกี่ยวกับการตรวจวินิจฉัยก่อนคลอดผ่านสื่อสังคมออนไลน์ต่อความวิตกกังวลและความรู้ของคู่เสี่ยงต่อการมีทารกเป็นโรคธาลัสซีเมียชนิดรุนแรง.
วราพร รุ่งโรจน์ประทีป, วรรณา พาหุวัฒนกร, ปิยะนันท์ ลิมเรืองรอง, พฤหัส จันทร์ประภาพ. (2567).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 42(2), 73-88.
2) อิทธิพลของปัจจัยส่วนบุคคล การสนับสนุนทางสังคม และการรับรู้สมรรถนะแห่งตน ต่อพฤติกรรมการแสวงหาข้อมูลด้านสุขภาพของสตรีที่มีภาวะเบาหวานขณะตั้งครรภ์.
ปรีดาวรรณ กะสินัง, ปิยะนันท์ ลิมเรืองรอง, วรรณา พาหุวัฒนกร, ดิฐกานต์ บริบูรณ์หิรัญสาร. (2567).
วารสารแพทย์นาวี, 51(1), 28-46.
3) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความดันโลหิตสูงเนื่องจากการตั้งครรภ์และภาวะครรภ์เป็นพิษของผู้คลอดในระยะที่ 1 ของการคลอด.
กมลรัตน์ สงนอก, นันทนา ธนาโนวรรณ, ปิยะนันท์ ลิมเรืองรอง, ภัทรวลัย ตลึงจิตร. (2567).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 42(3), 17-30.
4) ประสิทธิผลของโปรแกรมการเตรียมตัวเพื่อการคลอด ต่อการรับรู้สมรรถนะในการเผชิญความเจ็บปวด ระดับความเจ็บปวด และพฤติกรรมการเผชิญความเจ็บปวดในระยะที่หนึ่งของการคลอดในมารดาที่คลอดบุตรคนแรก.
สุกัญญา บังเมฆ, ปิยะนันท์ ลิมเรืองรอง, วรรณา พาหุวัฒนกร. (2566).
วารสารพยาบาลทหารบก, 24(1), 201-210.
5) อิทธิพลของความเครียด เวลาที่ดูดนมแม่ครั้งแรก จำนวนครั้งของการตั้งครรภ์ ชนิดของการผ่าตัดคลอด การได้รับยาเพทิดีนและยาออกซิโตซินต่อระยะเวลาการไหลของน้ำนมแม่ครั้งแรกในมารดาหลังผ่าตัดคลอด.
ชนันรัตน์ บุญดี, วรรณา พาหุวัฒนกร, ปิยะนันท์ ลิมเรืองรอง, พฤหัส จันทร์ประภาพ. (2566).
วารสารพยาบาลทหารบก, 24(1), 211-220.
6) ผลของโปรแกรมสนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ร่วมกับผู้ดูแลต่อการรับรู้ความไม่เพียงพอของน้้านม และอัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวที่ 1 เดือนในมารดาผ่าตัดคลอด.
ณชพัฒน์ จีนหลักร้อย, วรรณา พาหุวัฒนกร, ปิยะนันท์ ลิมเรืองรอง. (2566).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 41(3), 50-63.
7) อิทธิพลของอายุ ความรู้เกี่ยวกับการคลอด การสนับสนุนในระยะคลอด ระยะเวลาของการคลอด และความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองต่อการรับรู้ประสบการณ์การคลอดในผู้คลอดครรภ์แรก.
ถกลรัตน์ หนูฤกษ์, ปิยะนันท์ ลิมเรืองรอง, วรรณา พาหุวัฒนกร. (2566).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 41(4), 32-43.
8) อิทธิพลของระยะเวลาการคลอด สุขภาพจิต อายุ จำานวนครั้งของการคลอดรูปแบบการให้นมและการสนับสนุนทางสังคม ต่อความเหนื่อยล้าหลังคลอดในมารดาหลังคลอดปกติ.
อชิรญา วัฏฏสันติ, วรรณา พาหุวัฒนกร, ปิยะนันท์ ลิมเรืองรอง. (2565).
วารสารเกื้อการุณย์, 29(2), 230-243.
9) อิทธิพลของอายุ ความรู้ ความเชื่อ การสนับสนุน และการเข้าถึงบริการ ต่อการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 สัปดาห์ ในมารดาหลังคลอดชาวเขา.
ปภาวรินทร์ วังดี, วรรณา พาหุวัฒนกร, ปิยะนันท์ ลิมเรืองรอง. (2565).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 40(2), 1-16.
10) อิทธิพลของปัจจัยส่วนบุคคล ดัชนีมวลกาย ทัศนคติ และการสนับสนุนทางสังคมต่อการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 4 สัปดาห์ในมารดาหลังคลอด.
อรจิรา สัจธรรม, ปิยะนันท์ ลิมเรืองรอง, วรรณา พาหุวัฒนกร, พฤหัส จันทร์ประภาพ. (2565).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 40(2), 34-48.
11) ผลของโปรแกรมฝึกทักษะการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ต่อประสิทธิภาพ การรับรู้สมรรถนะของตนเอง และอัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวของมารดาวัยรุ่นที่มีบุตรคนแรก.
อัญชนา ปันอินแปง, วรรณา พาหุวัฒนกร, ปิยะนันท์ ลิมเรืองรอง. (2564).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 39(4), 27-40.
12) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความรอบรู้ด้านสุขภาพมารดาในสตรีตั้งครรภ์.
สินีนาท วราโภค, เอมพร รตินธร, ปิยะนันท์ ลิมเรืองรอง. (2563).
วารสารสภาการพยาบาล, 35(1), 86-98.
13) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือนในมารดาที่ทำงานนอกบ้าน.
ชิดชนก พันธ์ป้อม, วรรณา พาหุวัฒนกร, ปิยะนันท์ ลิมเรืองรอง. (2563).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 38(1), 47-59.
14) ปัจจัยทำนายน้ำหนักที่เพิ่มขึ้นในขณะตั้งครรภ์ของสตรีที่มีภาวะน้ำหนักเกินและอ้วน.
พรนิภา ดีมงคล, ปิยะนันท์ ลิมเรืองรอง, วรรณา พาหุวัฒนกร, ดิฐกานต์ บริบูรณ์หิรัญสาร. (2563).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 38(2), 46-58.
15) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการแสวงหาข้อมูลด้านสุขภาพของสตรีตั้งครรภ์.
ปวีณา สุรินทร์ประทีป, เอมพร รตินธร, ปิยะนันท์ ลิมเรืองรอง. (2562).
วารสารสภาการพยาบาล, 34(4), 95-107.
16) โปรแกรมการกำกับตนเองต่อการรับประทานอาหาร การออกกำลังกาย และน้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้นในสตรีตั้งครรภ์ที่มีน้ำหนักเกินและอ้วน.
อรวรรณ พินิจเลิศสกุล, ปิยะนันท์ ลิมเรืองรอง, นิตยา สินสุกใส, ดิฐกานต์ บริบูรณ์หิรัญสาร. (2562).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 37(2), 26-42.
17) ปัจจัยทำนายการเพิ่มน้ำหนักตัวในไตรมาสที่สองของการตั้งครรภ์ในสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะน้ำหนักเกินและอ้วน.
เบญจพร ฐิติญาณวิโรจน์, ปิยะนันท์ ลิมเรืองรอง, ฉวีวรรณ อยู่สำราญ, นพพร ว่องสิริมาศ, ดิฐกานต์ บริบูรณ์หิรัญสาร. (2562).
วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ, 37(2), 170-190.
18) การศึกษาเปรียบเทียบพฤติกรรมความเสี่ยงการมีเพศสัมพันธ์ การรับรู้ความเสี่ยงปัญหาสุขภาพทางเพศ และการปกป้องสุขภาพทางเพศของเยาวชนในสถานศึกษา.
ปิยะนันท์ ลิมเรืองรอง, วารุณี เกตุอินทร์, รวมพร คงกำเนิด, ศิริอร สินธุ. (2560).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 35(4), 33-48.
19) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตอบสนองความต้องการของทารกในมารดาที่มีบุตรคนแรก.
จีรันดา อ่อนเจริญ, นิตยา สินสุกใส, วรรณา พาหุวัฒนกร, ปิยะนันท์ ลิมเรืองรอง. (2560).
วารสารพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 29(2), 87-98.
20) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเกิดภาวะเบาหวานในสตรีตั้งครรภ์ที่มี Glucose Challenge Test ผิดปกติ.
ปิยะนันท์ ลิมเรืองรอง, ดิฐกานต์ บริบูรณ์หิรัญสาร, อภิธาน พวงศรีเจริญ, อรวรรณ พินิจเลิศสกุล. (2559).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 34(2), 58-69.
21) การศึกษาปัจจัยเสี่ยงต่อการทำ นายการเกิดภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ในสตรีตั้งครรภ์ชาวพม่า.
ปิยะนันท์ ลิมเรืองรอง, Ei Wah Phyu Thet, นิตยา สินสุกใส. (2559).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 34(4), 14-25.
22) ปัจจัยทำนายการคุมกำเนิดของมารดาวัยรุ่นที่มีบุตรคนแรก ในระยะหลังคลอด.
นาฏนฤมล ทองมี, เอมพร รตินธร, ปิยะนันท์ ลิมเรืองรอง. (2558).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 33(1), 51-59.
23) ผลของการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องการตรวจครรภ์ต่อความรู้ ทักษะการตรวจครรภ์ และความพึงพอใจของนักศึกษาพยาบาล.
จิตต์ระพี บูรณศักดิ์, ปิยะนันท์ ลิมเรืองรอง, ฤดี ปุงบางกะดี่. (2557).
วารสารพยาบาลทหารบก, 15(3), 361-370.