การพยาบาลก้าวไกล เพราะน้ำใจเหล่าพยาบาล เสียสละและบริการ ตามปณิธานสมเด็จพระบรมราชชนนี
ชื่อ | |
---|---|
ตำแหน่ง | |
อีเมล | |
ที่อยู่ | เลขที่ 2 ถนนวังหลัง แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ 10700 |
โทร |
มหาวิทยาลัยมหิดล
ปริญญาโท: วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.) การพยาบาลอายุรศาสตร์และศัลยศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล
ปริญญาตรี: วิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) พยาบาลและผดุงครรภ์มหาวิทยาลัยมหิดล
1) Prevalence and predictors of postcholecystectomy syndrome in Nepalese patients after 1 week of laparoscopic cholecystectomy: a cross-sectional study.
Shrestha, R., Chayaput, P., Wongkongkam, K., Chanruangvanich, W.. (2024).
Scientific Reports, 14(1), 4903-0.
2) Factors predicting prolonged postoperative ileus in patients undergoing major gastrointestinal surgery.
Banyong, C., Chanruangvanich, W., Thosingha, O., Lohsiriwat, V. (2022).
Siriraj Medical Journal, 74(9), 537-547.
3) Effects of physical exercise program on physical mobility of patients with cranial surgery.
Panyasarawut, J., Chanruangvanich, W., Chayaput, P., Witthiwej, T. (2021).
Siriraj Medical Journal, 73(10), 695-701.
4) Health-related quality of life and its determinants among patients with hip fracture after surgery in Myanmar.
Hlaing, W.Y., Thosingha, O., Chanruangvanich, W.. (2020).
International Journal of Orthopaedic and Trauma Nursing, 37, 10075-0.
1) ปัจจัยทำนายการเกิดภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัดในผู้ป่วยหลอดเลือดสมองโป่งพองแตก.
อัจฉรา ศรีนุกูล, สุพร ดนัยดุษฎีกุล, วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์, ทวีศักดิ์ เอื้อบุญญาวัฒน์. (2567).
วารสารเกื้อการุณย์, 31(1), 15-29.
2) ปัจจัยทำนายความถูกต้องในการคัดแยกผู้ป่วยสูงอายุ ณ ห้องฉุกเฉิน.
สุพรรณี เฮ้าชุน, ศรินรัตน์ ศรีประสงค์, วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์. (2567).
วารสารพยาบาลทหารบก, 25(2), 186-194.
3) ปัจจัยทำนายการเกิดภาวะแทรกซ้อนระยะ 7 วันหลังผ่าตัดในผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดเนื้องอกสมอง.
เขมรัฐ ปั้นหลุย, ปรางทิพย์ ฉายพุทธ, วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์, บรรพต สิทธินามสุวรรณ. (2565).
วารสารเกื้อการุณย์, 29(1), 118-131.
4) การศึกษาเปรียบเทียบปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะช็อกจากการบาดเจ็บระหว่างผู้บาดเจ็บผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ.
นงนุช พันธ์หอม, วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์, อรพรรณ โตสิงห์, ปรางทิพย์ ฉายพุทธ. (2565).
วารสารสภาการพยาบาล, 37(3), 128-143.
5) ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะซึมเศร้าดัชนีมวลกายคุณภาพการนอนหลับภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะชนิดห้องบนสั่นพลิ้วและจานวนวันนอนโรงพยาบาลในผู้ป่วยภายหลังผ่าตัดหัวใจแบบเปิด.
ขวัญตา ว่องเกษกิจ, วิราพรรณ วิโรจน์รัตน์, วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์. (2565).
วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, 33(1), 84-98.
6) ปัจจัยทำนายความพร้อมในการจําหน่ายจากโรงพยาบาลในผู้ป่วยอุบัติเหตุภายหลังได้รับการผ่าตัดรยางค์.
ทิพวัลย์ พราหมณ์น้อย, สุพร ดนัยดุษฎีกุล, วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์. (2565).
วารสารพยาบาลทหารบก, 23(2), 179-187.
7) ผลของโปรแกรมการให้ข้อมูลการแสดงเจตนาล่วงหน้าในการรักษาพยาบาลต่อการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจวางแผนการรักษาในผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับการรักษาแบบประคับประคอง.
ปิยารัตน์ รุ่งเรือง, ปรางทิพย์ ฉายพุทธ, วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์. (2565).
วารสารสภาการพยาบาล, 37(4), 95-110.
8) ผลของโปรแกรมการให้บริการการแพทย์ทางไกลต่อคุณภาพของการเตรียม ลำไส้ใหญ่ในผู้ป่วยที่มารับการส่องกล้องลำไส้ใหญ่และทวารหนัก: การทดลองแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุม.
ทิพยรัตน์ กันทะวงค์, เกศศิริ วงษ์คงคำ, วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์, อวยพร เค้าสมบัติวัฒนา. (2565).
วารสารสภาการพยาบาล, 37(4), 52-72.
9) ปัจจัยทำนายการเข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยวิกฤตฟลังผ่าตัดของผู้บาดเจ็บหลังการผ่าตัดด่วน.
โชษิกาวรรณ มณีโชติ, วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์, ปรางทิพย์ ฉายพุทธ, กฤษณ์ แก้วโรจน์. (2565).
วารสารสภาการพยาบาล, 37(1), 89-107.
10) ผลของโปรแกรมการสร้างเสริมการดูแลสุขภาพช่องปาก ตามกรอบแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ต่อความรู้ ทัศนคติ และทักษะปฏิบัติในการดูแลสุขภาพช่องปาก ในสามเณรไทย.
ณัฐมา ทองธีรธรรม, วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์, สุชาดา ภัทรมงคลฤทธิ์, ยุทธพิชัย โพธิ์ศรี, อรพรรณ โตสิงห์, ธิมาภรณ์ ซื่อตรง, จุฑารัตน์ ฉันท์เรืองวณิชย์. (2565).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 40(2), 87-100.
11) ผลของโปรแกรมการสร้างความรอบรู้ทางสุขภาพต่อพฤติกรรมการล้างมือของผู้เข้าเยี่ยมในหอผู้ป่วยวิกฤติ.
เพ็ญแข สุขสถิตย์, วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์, อรพรรณ โตสิงห์, เลลานี ไพฑูรย์พงษ์. (2564).
วารสารสภาการพยาบาล, 36(2), 23-48.
12) ผลของโปรแกรมการจัดการความปวดด้วยการประคบเย็นร่วมกับการใช้ผ้ารัดหน้าท้องต่อระดับความปวดและการเคลื่อนไหวร่างกายหลังผ่าตัดในผู้ป่วยนรีเวชที่ได้รับการผ่าตัดแบบเปิดหน้าท้อง.
เกศริน อินธิยศ, วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์, เกศศิริ วงษ์คงคำ, ชินา โอฬารรัตนพันธ์. (2564).
วารสารสภาการพยาบาล, 36(3), 83-102.
13) ปัจจัยทำนายความรุนแรงของการเปลี่ยนแปลงทางสรีระของผู้ป่วยติดเชื้อที่รับกํารรักษาในห้องฉุกเฉิน.
ภูมินทร์ ดวงสุริยะ , วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์, ปรางทิพย์ ฉายพุทธ, อรพรรณ โตสิงห์ . (2564).
วารสารสภาการพยาบาล, 36(3), 134-50.
14) ปัจจัยทำนายการเกิดภาวะสับสนเฉียบพลันหลังผ่าตัดในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดแดงส่วนปลายอุดตัน.
นรินทร์ พิพัฒนวรคุณ, ปรางทิพย์ ฉายพุทธ, วิราพรรณ วิโรจน์รัตน์, วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์. (2564).
วารสารสภาการพยาบาล, 36(4), 129-149.
15) ปัจจัยทำนายภาวะทุพโภชนาการของผู้บาดเจ็บที่ได้รับการผ่าตัด.
ณัฏฐิกา ถาวงษ์เพีย, วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์, อรพรรณ โตสิงห์, ศุภฤกษ์ ปรีชายุทธ. (2564).
วารสารสภาการพยาบาล, 36(4), 94-103.
16) ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะสุขภาพของผู้ป่วย ความสัมพันธ์ต่างเกื้อกูล ความพร้อมในการดูแลกับความเครียด ในบทบาทผู้ดูแลผู้ป่วยสูงอายุโรคมะเร็งระยะลุกลามที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคอง.
สมพงษ์ แก้วพรรณา, วิราพรรณ วิโรจน์รัตน์, วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์. (2563).
วารสารพยาบาลทหารบก, 21(1), 183-92.
17) ปัจจัยทำนํายความทุกข์ทรมานของญาติผู้ดูแลผู้ป่วยผ่าตัดทํางประสาทศัลยศาสตร์ระยะประคับประคอง.
ศศิธร อิ่มมณี, วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์, ปรางทิพย์ ฉายพุทธ, ปฤณัต อิทธิเมธินทร์. (2563).
วารสารสภาการพยาบาล, 35(4), 54-69.
18) ผลของโปรแกรมส่งเสริมความเชื่อด้านสุขภาพต่อพฤติกรรมการปฏิบัติตนของผู้สูงอายุหลังผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพกเทียม.
พัชรรินทร์ เนียมเกิด, นารีรัตน์ จิตรมนตรี, วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์. (2563).
วารสารสภาการพยาบาล, 35(4), 99-111.
19) ปัจจัยทำนายการฟื้นตัวด้านการหายใจของผู้ป่วยอุบัติเหตุหลังการผ่าตัด.
อภิชญา มั่นเกษวิทย์, สุพร ดนัยดุษฎีกุล, วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์, สุชาดา ภัทรมงคลฤทธิ์, จตุพร ศิริกุล. (2562).
วารสารกรมการแพทย์, 44(3), 114-119.
20) ปัจจัยทำนายการเกิดภาวะไตบาดเจ็บเฉียบพลันในผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บในระยะ 48 ชั่วโมง.
อาซิห แวหะยี, วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์, อรพรรณ โตสิงห์, กฤษณ์ แก้วโรจน์. (2562).
วารสารสภาการพยาบาล, 32(1), 122-140.
21) ปัจจัยทำนายการเกิดกลุ่มอาการตอบสนองการอักเสบทั่วร่างการในผู้ป่วยหลังผ่าตัดสมอง.
เบญจกาย ตรีถูกแบบ, วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์, อรพรรณ โตสิงห์, ธีรพล วิทธิเวช . (2562).
วารสารสภาการพยาบาล, 34(2), 94-111.
22) ปัจจัยทำนายภาวะช็อกในผู้ป่วยที่มารับบริการที่ห้องฉุกเฉิน.
นันทพร หาสาสน์ศรี, วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์, อรพรรณ โตสิงห์. (2562).
วารสารสภาการพยาบาล, 34(3), 60-75.
23) ปัจจัยทำนายปลายทางการจำหน่ายผู้บาดเจ็บออกจากหน่วยตรวจอุบัติเหตุฉุกเฉิน.
วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์, วรานุช ศรรักษ์, อรพรรณ โตสิงห์, กฤษณ์ แก้วโรจน์. (2562).
วารสารสภาการพยาบาล, 34(3), 105-122.
24) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความถูกต้องในการคัดแยกผู้ป่วยฉุกเฉินโดยการใช้ดัชนีความรุนแรงฉุกเฉิน.
กฤษฎา สวมชัยภูมิ, วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์, อรพรรณ โตสิงห์, อภิชญา มั่นสมบูรณ์. (2562).
วารสารสภาการพยาบาล, 34(4), 34-47.
25) ปัจจัยทำนายการฟื้นสภาพทางกายในผู้บาดเจ็บรยางค์.
จุฑามาศ พันธ์ดี, ปรางทิพย์ ฉายพุทธ, วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์, ต้องพร วรรณะธูป. (2562).
วารสารสภาการพยาบาล, 34(4), 48-63.
26) ปัจจัยทำนายความบกพร่องด้านการรู้คิดในผู้ป่วยภายหลังการผ่าตัดเนื้องอกสมอง.
ภิญาภร โตญาติมาก, เกศรินทร์ อุทริยะประสิทธิ์, วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์, บรรพต สิทธินามสุวรรณ, สุชาดา ภัทรมงคลฤทธิ์. (2562).
วารสารสภาการพยาบาล, 34(4), 64-79.
27) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยพื้นฐานบางประการ ความรุนแรงของอาการพฤติกรรมการดูแลตนเองแบบประคับประคองกับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุโรคมะเร็งระยะลุกลามที่ได้รับการรักษาด้วยยาเคมีบำบัด.
ชุติมา จันทร์สมคอย, วิราพรรณ วิโรจน์รัตน์, วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์. (2561).
วารสารพยาบาลทหารบก, 19(sup2), 108-117.
28) การศึกษาความสัมพันธ์ของความต้องการการดูแลแบบประคับประคองระหว่างผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอกับผู้ดูแล.
ศุภศิริ เชียงตา, วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์, อรพรรณ โตสิงห์, ภาวิน เกษกุล. (2560).
วารสารสภาการพยาบาล, 32(2), 31-48.
29) ผลของโปรแกรมการสนับสนุนครอบครัวต่อการปรับตัวของญาติผู้ดูแลผู้ป่วยหลังผ่าตัดสมองในหอผู้ป่วยวิกฤต.
ทศพร ธรรมรักษ์, วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์, อรพรรณ โตสิงห์, ทวีศักดิ์ เอื้อบุญญาวัฒน์. (2560).
วารสารสภาการพยาบาล, 32(2), 49-64.
30) ผลของโปรแกรมส่งเสริมความสุขสบายต่อความพึงพอใจ ความวิตกกังวล และความปวดของผู้ป่วยที่ได้รับการส่องกล้องตรวจลำไส้ใหญ่.
Truong Thi Thuy Huong, วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์, อรพรรณ โตสิงห์. (2560).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 35(suppl1), 71-8.
31) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยมะเร็งปอด.
Phan Thi Thu Hue, วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์, วิมลรัตน์ ภู่วราวุฒิพาณิช. (2560).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 35(suppl1), 79-86.
32) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความต้องการการดูแลแบบประคับประคองของผู้ป่วยมะเร็งตับ.
Le Thi Hien, วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์, อรพรรณ โตสิงห์. (2560).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 35(suppl1), 87-95.
33) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคเนื้องอกสมอง.
Nguyen Thi Nghe, วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์, อรพรรณ โตสิงห์. (2560).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 35(suppl2), 57-65.
34) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคลำไส้อักเสบ.
Le Thi Thuy, วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์, วิมลรัตน์ ภู่วราวุฒิพานิช. (2560).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 35(suppl2), 66-73.
35) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะการทำหน้าที่ของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบ.
Pham Thi Nga, วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์, วิมลรัตน์ ภู่วราวุฒิพานิช. (2560).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 35(suppl2), 74-81.
36) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจของผู้ป่วยที่ได้รับการตรวจด้วยคอมพิวเตอร์สแกน.
Do Thi Yen Mai, วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์, อรพรรณ โตสิงห์. (2560).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 35(suppl2), 82-9.
37) ปัจจัยที่มีผลต่อการฟื้นตัวของผู้ป่วยหลังผ่าตัดช่องท้อง.
Nguyen Thi Thu Trang, อรพรรณ โตสิงห์, วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์. (2560).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 35(suppl1), 4-12.
38) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับปลายทางการจำหน่ายจากห้องฉุกเฉินของผู้ป่วยบาดเจ็บ.
Nguyen Quynh Cham, อรพรรณ โตสิงห์, วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์. (2560).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 35(suppl1), 31-8.
39) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการฟื้นตัวด้านการทำหน้าที่ในผู้ป่วยที่มีอาการปวดหลังส่วนล่าง.
Khuc Thi Hong Anh, อรพรรณ โตสิงห์, วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์. (2560).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 35(suppl2), 4-11.
40) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการฟื้นตัวของผู้ป่วยหลังผ่าตัดเอามดลูกออกทั้งหมด.
Pham Thi Thu Thuy, อรพรรณ โตสิงห์, วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์. (2560).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 35(suppl2), 12-20.
41) ความสัมพันธ์ระหว่างสมรรรถนะแห่งตน ภาวะซึมเศร้า ความวิตกกังวล และคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง.
Pham Thi Thanh Phuong, วิมลรัตน์ ภู่วราวุฒิพานิช, วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์. (2560).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 35(suppl1), 47-55.
42) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยหอบหืด.
Le Thu Hoai, วิมลรัตน์ ภู่วราวุฒิพานิช, วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์. (2560).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 35(suppl1), 64-70.
43) ความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการทำงานของปอด ประสบการณ์การหายใจลำบาก การสนับสนุนทางสังคม และคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง.
Le Thi Trang, วิมลรัตน์ ภู่วราวุฒิพานิช, วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์. (2560).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 35(suppl2), 31-7.
44) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะสุขภาพในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบที่มีภาวะกลืนลำบาก.
Nguyen Thi Thu Hien, วิมลรัตน์ ภู่วราวุฒิพานิช, วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์. (2560).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 35(suppl2), 38-47.
45) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะการทำหน้าที่ในผู้ป่วยโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์.
Tran Thi Ngoc Xuyen, วิมลรัตน์ ภู่วราวุฒิพานิช, วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์. (2560).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 35(suppl2), 48-56.
46) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการฟื้นตัวด้านร่างกายระยะแรก ของผู้ป่วยกระดูกเท้าและข้อเท้าหัก หลังได้รับการรักษาด้วยการเข้าเฝือก.
วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์, พิตะวัน กุลาสา, อรพรรณ โตสิงห์, ก้องเขต เหรียญสุวรรณ. (2559).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 34(3), 106-115.
47) อิทธิพลของการใช้สุราและสารเสพติด การหลงลืมภายหลังบาดเจ็บ และความแปรปรวนทางอารมณ์ ต่อการฟื้นตัวของสุขภาพผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะเล็กน้อยถึงปานกลาง.
วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์, รมิดา ชนาธิปนิธิสิริ, อรพรรณ โตสิงห์, บรรพต สิทธินามสุวรรณ. (2559).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 34(4), 68-78.
48) ความสัมพันธ์ระหว่างโรคร่วม สภาพผู้ป่วยระหว่างผ่าตัด กลุ่มอาการตอบสนองการอักเสบทั่วร่างกาย และภาวะไตวายเฉียบพลันในผู้ป่วยวิกฤตระยะ 72 ชั่วโมงแรกหลังการผ่าตัดใหญ่.
ปิญาพร ภูลายเรียบ, สุพร ดนัยดุษฎีกุล, วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์, สุณีรัตน์ คงเสรีพงศ์. (2559).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 34(suppl1), 107-117.
49) อิทธิพลของโรคร่วม ดัชนีมวลกาย และภาวะซึมเศร้า ต่อการฟื้นตัวหลังผ่าตัดในผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดกระดูกสันหลังระดับเอว.
อรพรรณ โตสิงห์, พัชรี บุตรแสนโคตร, วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์, ชลเวช ชวศิริ. (2559).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 34(suppl1), 129-142.
1) ผลของการใช้แนวปฏิบัติในการจัดการภาวะไข้ร่วมกับการใช้ผ้าเย็นโพลีไวนิลแอลกอฮอล์ต่อภาวะไข้ในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองแตก.
วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์, กาญเขตร์ ทรัพย์สอาด, อรพรรณ โตสิงห์, สุขสันต์ เดชาพิสุทธิ์. (2559).
วารสารสภาการพยาบาล, 31(2), 109-122.
2) อิทธิพลของระดับความปวด ลักษณะอาหาร และสุขภาพช่องปากต่อการรับประทานอาหารในผู้ป่วยมะเร็งช่องปากหลังการผ่าตัด.
อุษา เข็มทอง, ปรางทิพย์ ฉายพุทธ, วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์, สืบวงศ์ จุฑาภิสิทธิ์. (2558).
วารสารสภาการพยาบาล, 30(2), 60-74.
3) อิทธิพลของ คุณภาพการนอนหลับ โรคร่วม ระดับของฮีโมโกลบิน ต่อความสามารถในการเคลื่อนไหวระยะแรกในผู้ป่วยกระดูกสะโพกหักภายหลังการผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพกเทียมบางส่วน.
ลดาวัลย์ พรหมชาติ, วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์, เกศรินทร์ อุทริยะประสิทธิ์. (2558).
วารสารสภาการพยาบาล, 30(2), 75-85.
4) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการปรับตัวของญาติผู้ป่วยวิกฤติทางศัลยศาสตร์.
สุพรภัทตรา บุ่งนาม, อรพรรณ โตสิงห์, วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์, ปฤณัต อิทธิเมธิน. (2558).
วารสารสภาการพยาบาล, 30(4), 72-83.
5) ปัจจัยทำนายคุณภาพการฟื้นตัวในผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรงหลังผ่าตัดผ่านกล้อง.
นรลักษณ์ เสน่หา, ทิพา ต่อสกุลแก้ว, วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์, วิทูร ชินสว่างวัฒนกุล. (2558).
วารสารสภาการพยาบาล, 30(4), 32-44.
6) ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะโรคร่วม ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อในการกำมือ และความวิตกกังวลกับการฟื้นตัวด้านการทำหน้าที่ของผู้ป่วยกระดูกสะโพกหักภายหลังผ่าตัด.
สุวิมล แคล่วคล่อง, วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์, สุพร ดนัยดุษฎีกุล, ก้องเขต เหรียญสุวรรณ. (2557).
วารสารสภาการพยาบาล, 29(2), 36-48.