…การพยาบาลนั้น ไม่ใช่ว่าจะมีประโยชน์แต่การพยาบาลอย่างเดียว
ย่อมเป็นประโยชน์สำหรับบำรุงชาติและบ้านเมืองของเราด้วย…
ชื่อ | รศ.ดร.นันทนา ธนาโนวรรณ |
---|---|
ตำแหน่ง | |
รองศาสตราจารย์ | |
อีเมล | nanthana.tha@mahidol.ac.th |
ที่อยู่ | เลขที่ 2 ถนนวังหลัง แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ 10700 |
โทร | 02-4197466-80 ต่อ 1812 |
University of Wisconsin-Madison
ปริญญาโท: Master of Science in Nursing (M.S.N.) Women 's Health Nursing (ทุนประเภท 1 ก)University of Wisconsin-Madison
ปริญญาตรี: วิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) พยาบาลและผดุงครรภ์มหาวิทยาลัยมหิดล
1) รูปแบบของความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในสตรีที่มารับบริการหน่วยตรวจโรคนรีเวช.
นันทนา ธนาโนวรรณ (หัวหน้าโครงการวิจัย).
กองทุน ซี.เอ็ม.บี คณะพยาบาลศาสตร์. 2561.
1) Intimate partner violence and factors associated with sexually transmitted infections among Thai women attending gynecology clinics.
Thananowan, N., Vongsirimas, N., Rachapromma, P. (2021).
International Journal of STD and AIDS, 32(4), 336-343.
2) Investigating the mechanisms of theory of planned behavior on Cyberbullying among Thai adolescents.
Auemaneekul, N., Powwattana, A., Kiatsiri, E., Thananowan, N.. (2020).
Journal of Health Research, 34(1), 42-55.
3) Mediating roles of intimate partner violence, stress, and social support on depressive symptoms among Thai women.
Thananowan, N., Vongsirimas, N., Kedcham, A. (2020).
Journal of Interpersonal Violence, 0, 0-0.
4) How Thai Women Manage Living in the Context of Intimate Partner Violence.
Thananowan, N., Kaesornsamut, P., Rourke, T., Hegadoren, K.. (2018).
Journal of Interpersonal Violence, 7(-), 1-23.
5) Factors Mediating the Relationship Between Intimate Partner Violence and Cervical Cancer Among Thai Women.
Thananowan, N., Vongsirimas, N.. (2016).
Journal of Interpersonal Violence, 31(4), 715-731.
6) Association between Intimate Partner Violence and Women's Mental Health: Survey Evidence from Thailand.
Thananowan, N., Vongsirimas, N.. (2014).
Pacific Rim International Journal of Nursing Research, 18(1), 3-15.
7) Examining Mediators of Intimate Partner Violence and Depressive Symptoms among Thai Women with Gynecological Problems.
Thananowan, N., Vongsirimas, N.. (2014).
Pacific Rim International Journal of Nursing Research, 18(3), 216-227.
1) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความดันโลหิตสูงเนื่องจากการตั้งครรภ์และภาวะครรภ์เป็นพิษของผู้คลอดในระยะที่ 1 ของการคลอด.
กมลรัตน์ สงนอก, นันทนา ธนาโนวรรณ, ปิยะนันท์ ลิมเรืองรอง, ภัทรวลัย ตลึงจิตร. (2567).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 42(3), 17-30.
2) ผลของโปรแกรมส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่โดยบิดา มีส่วนร่วมต่อการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 1 เดือน และการรับรู้การสนับสนุนจากบิดาในมารดาที่มีบุตรคนแรก.
ปิยธิดา เฉียบแหลม, นิตยา สินสุกใส, นันทนา ธนาโนวรรณ. (2565).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 40(4), 33-48.
3) ผลของโปรแกรมส่งเสริมปฏิสัมพันธ์ระหว่างมารดา-ทารกต่อการตอบสนองของมารดาต่อความต้องการของทารก และความรักใคร่ผูกพันระหว่างมารดา-ทารกในมารดาที่มีบุตรคนแรก.
สุดหทัย ศิริเทพมนตรี, นิตยา สินสุกใส, นันทนา ธนาโนวรรณ, พฤหัส จันทร์ประภาพ. (2563).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 38(1), 60-72.
4) ผลของการส่งข้อความสั้นต่อพฤติกรรมการรับประทานอาหารและการเปลี่ยนแปลงของระดับฮีโมโกลบินในสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก.
วิไลลักษณ์ ปินตาวงค์, ฉวีวรรณ อยู่สำราญ, นันทนา ธนาโนวรรณ. (2563).
วารสารพยาบาลทหารบก, 21(3), 421-431.
5) ปัจจัยทำนายน้ำหนักคงค้างหลังคลอด.
ณัฐรินทร์ สกุลนิธิวัฒน์, ฉวีวรรณ อยู่สำราญ, นันทนา ธนาโนวรรณ. (2562).
วารสารพยาบาลทหารบก, 20(2), 112-122.
6) ปัจจัยทำนายความรุนแรงที่เกิดจากคู่สมรสในสตรีตั้งครรภ์ที่เป็นโรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์.
หงษาวดี โยธาทิพย์, นันทนา ธนาโนวรรณ, ฉวีวรรณ อยู่สำราญ, นพพร ว่องสิริมาศ. (2562).
วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์, 11(2), 35-48.
7) ผลของโปรแกรมการออกกำลังกายต่ออาการชา และคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยมะเร็งรังไข่ที่ได้รับยาเคมีบำบัด.
เพลินพิศ ธรรมนิภา, นันทนา ธนาโนวรรณ, รพีพรรณ อุปการ, บุญเลิศ วิริยะภาค. (2561).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 36(2), 42-53.
8) อิทธิพลของความรู้ ทัศนคติ การสื่อสารเรื่องเพศ การใช้สารเสพติด และสื่อกระตุ้นอารมณ์ทางเพศต่อการมีเพศสัมพันธ์ในนักเรียนหญิงชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น.
ทิติยา กาวิละ, นันทนา ธนาโนวรรณ, ฉวีวรรณ อยู่สำราญ, พวงเพชร เกษรสมุทร. (2560).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 35(2), 74-85.
9) อายุ การศึกษา การสนับสนุนทางสังคม การย้ายถื่นและการเข้าถึงบริการสุขภาพในการทำนายการฝากครรภ์ในมารดาหลังคลอด: การศึกษาย้อนหลัง.
บุหงา มะนาวหวาน, ฉวีวรรณ อยู่สำราญ, นันทนา ธนาโนวรรณ. (2559).
วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี, 27(2), 1-15.
10) ปัจจัยส่วนบุคคลและการสนับสนุนทางสังคมในการทำนายความรุนแรงที่เกิดจากคู่สมรสในสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่น.
พรรณทิพา บัวคล้าย, นันทนา ธนาโนวรรณ, นิตยา สินสุกใส, นพพร ว่องสิริมาศ. (2558).
วารสารการพยาบาลและสุขภาพ, 9(1), 83-94.
11) อิทธิพลของความเครียด การสนับสนุนทางสังคม ความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง และความรุนแรงที่เกิดจากคู่สมรสต่อภาวะซึมเศร้าหลังคลอดในมารดาวัยรุ่น.
พรพรรณ อินต๊ะ, นันทนา ธนาโนวรรณ, วรรณา พาหุวัฒนกร, พวงเพชร เกษรสมุทร. (2558).
วารสารการพยาบาลและสุขภาพ, 9(1), 95-104.
12) ปัจจัยทำนายความรุนแรงที่เกิดจากคู่สมรสในสตรีที่มีปัญหาทางนรีเวช.
นันทนา ธนาโนวรรณ, พวงเพชร เกษรสมุทร. (2557).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 32(1), 71-80.
13) ความรู้ ทัศนคติ การรับรู้สมรรถนะในตนเอง และการสนับสนุนจากสามีและพยาบาลในการทำนายการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 สัปดาห์.
สุวรรณา ชนะภัย, นิตยา สินสุกใส, นันทนา ธนาโนวรรณ, วรรณา พาหุวัฒนกร. (2557).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 32(1), 51-60.
14) ผลของโปรแกรมการสนับสนุนโดยสามีในระยะที่ 1 ของการคลอดต่อความเครียด ความเจ็บปวด และความพึงพอใจต่อการคลอดในผู้คลอดครรภ์แรก.
ศิวพร สุดเพชร, นันทนา ธนาโนวรรณ, ฉวีวรรณ อยู่สำราญ, ชานนท์ เนื่องตัน. (2557).
วารสารสภาการพยาบาล, 29(3), 42-54.
15) ผลของตัวแปรส่งผ่านจากความรุนแรงที่เกิดจากคู่สมรส และปัจจัยทางจิตสังคมต่อภาวะซึมเศร้าก่อนคลอดและหลังคลอดในสตรีไทย.
นันทนา ธนาโนวรรณ, นพพร ว่องสิริมาศ, เดช เกตุฉ่ำ, พวงเพชร เกษรสมุทร. (2555).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 30(4), 28-36.