…การพยาบาลนั้น ไม่ใช่ว่าจะมีประโยชน์แต่การพยาบาลอย่างเดียว
ย่อมเป็นประโยชน์สำหรับบำรุงชาติและบ้านเมืองของเราด้วย…
ชื่อ | ผศ.ดร.เกศศิริ วงษ์คงคำ |
---|---|
ตำแหน่ง | |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ | |
อีเมล | kessiri.won@mahidol.ac.th |
ที่อยู่ | เลขที่ 2 ถนนวังหลัง แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ 10700 |
โทร | 02-4197466-80 ต่อ 1757 |
มหาวิทยาลัยมหิดล
ปริญญาโท: พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (พย.ม.) การพยาบาลผู้ใหญ่มหาวิทยาลัยมหิดล
ปริญญาตรี: พยาบาลศาสตรบัณฑิต (พย.บ.) พยาบาลศาสตร์ (เกียรตินิยมอันดับ 2)มหาวิทยาลัยมหิดล
1) ปัจจัยทำนายคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดแดงใหญ่ในช่องท้องโป่งพองหลังผ่าตัด.
เกศศิริ วงษ์คงคำ (หัวหน้าโครงการวิจัย).
กองทุน ซี.เอ็ม.บี คณะพยาบาลศาสตร์. 2565.
1) Prevalence and predictors of postcholecystectomy syndrome in Nepalese patients after 1 week of laparoscopic cholecystectomy: a cross-sectional study.
Shrestha, R., Chayaput, P., Wongkongkam, K., Chanruangvanich, W.. (2024).
Scientific Reports, 14(1), 4903-0.
2) -.
Tepkit, N., เกศศิริ วงษ์คงคำ, ปรางทิพย์ ฉายพุทธ, Chinsakchai, K. (2567).
Journal of Vascular Nursing, 42(2), 99-104.
3) Effects of a telehealth program for wound healing promotion on the wound healing level in patients with diabetes undergoing coronary artery bypass graft surgery: A randomized controlled trial.
Sumrattana, S., Asdornwised, U., Wongkongkam, K., Tantiwongkosri, K. (2023).
Belitung Nursing Journal, 9(5), 428-436.
4) A comprehensive discharge planning program on fatigue and functional status of patients with hepatocellular carcinoma undergoing transarterial chemoembolization: A randomized clinical controlled trial.
Yenjai, N., Asdornwised, U., Wongkongkam, K., Pinjaroen, N.. (2022).
Belitung Nursing Journal, 8(4), 287-295.
5) The effectiveness of a telehealth program on the anxiety levels among women with core needle biopsy for suspected breast cancer.
Ruttanamontree, S., Asdornwised, U., Wongkongkam, K., Chuthapisith, s. (2020).
Journal of Perioperative Nursing, 33(2), 9-15.
6) Psychological factors associated with functional recovery among patients with a peripheral arterial disease after lower extremity bypass.
Wongkongkam, K., Thosingha, O., Ruangsetakit, C., Phuntep, K., Tonklai, S. (2019).
Journal of Vascular Nursing, 37(1), 3-10.
1) ปัจจัยทำนายการเกิดภาวะไตบาดเจ็บเฉียบพลันจากสารทึบรังสีในผู้ป่วยที่ได้รับการตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ร่วมกับการฉีดสารทึบรังสี.
จิตรานันต์ กงวงษ์, เกศศิริ วงษ์คงคำ, ปรางทิพย์ ฉายพุทธ, กอบกุล เมืองสมบูรณ์. (2567).
วารสารสภาการพยาบาล, 39(1), 109-127.
2) ผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยผ่านสื่อทางไกลต่อระดับค่าการแข็งตัวของเลือดในผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดลิ้นหัวใจ.
มลฤดี สิงหล, อุษาวดี อัศดรวิเศษ, เกศศิริ วงษ์คงคำ, ชูศักดิ์ เกษมศานติ์. (2567).
วารสารสภาการพยาบาล, 39(3), 422-438.
3) ปัจจัยทำนายภาวะแทรกซ้อนในระยะแรกหลังผ่าตัด ในผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บรยางค์.
นันทิภัคค์ พีรวัสธนะวุฒิ, สุพร ดนัยดุษฎีกุล, เกศศิริ วงษ์คงคำ, กุสุมา ชินอรุณชัย. (2567).
วารสารพยาบาลทหารบก, 25(3), 188-196.
4) ผลของโปรแกรมการให้ความรู้ร่วมกับการให้คำปรึกษาทางเพศสัมพันธ์ต่อการทาหน้าที่ทางเพศในผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดเปลี่ยนลิ้นหัวใจ.
จิดาภา ยอดระบำ, อุษาวดี อัศดรวิเศษ, เกศศิริ วงษ์คงคำ, เกรียงไกร ตันติวงศ์โกสีย์. (2566).
วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, 34(1), 74-48.
5) ผลของโปรแกรมการเคลื่อนไหวร่างกายโดยเร็วต่อการฟื้นตัวด้านการทำหน้าที่ของลำไส้หลังผ่าตัด 72 ชั่วโมงแรกในผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดช่องท้องแบบเปิด.
สุนิสา เกยสันเทียะ, เกศศิริ วงษ์คงคำ, สุพร ดนัยดุษฎีกุล, ธรรมศักดิ์ ทวิชศรี. (2565).
วารสารสภาการพยาบาล, 37(2), 61-80.
6) ปัจจัยทำนายการฟื้นตัวหลังผ่ําตัดในผู้ป่วยที่ได้รับกํารผ่ําตัดตับ.
ธัญลักษณ์ ชีวะประไพ, เกศศิริ วงษ์คงคำ, สุพร ดนัยดุษฎีกุล, พงศ์รัตน์ ศิริจินดํากุล. (2565).
วารสารสภาการพยาบาล, 37(3), 109-127.
7) ผลของโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนต่อความสามารถในการดูแลตนเองของผู้ป่วยและผู้ดูแล.
กฤษยา ไกรโสดา, เกศศิริ วงษ์คงคำ, ผ่องศรี ศรีมรกต. (2565).
วารสารพยาบาล, 71(3), 44-53.
8) ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะซึมเศร้าดัชนีมวลกายคุณภาพการนอนหลับภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะชนิดห้องบนสั่นพลิ้วและจานวนวันนอนโรงพยาบาลในผู้ป่วยภายหลังผ่าตัดหัวใจแบบเปิด.
อรุณตรี เครือแก้ว, สุพร ดนัยดุษฎีกุล, เกศศิริ วงษ์คงคำ, เกรียงไกร ตันติวงศ์โกสีย์. (2565).
วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, 33(1), 99-116.
9) ผลของโปรแกรมการให้บริการการแพทย์ทางไกลต่อคุณภาพของการเตรียม ลำไส้ใหญ่ในผู้ป่วยที่มารับการส่องกล้องลำไส้ใหญ่และทวารหนัก: การทดลองแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุม.
ทิพยรัตน์ กันทะวงค์, เกศศิริ วงษ์คงคำ, วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์, อวยพร เค้าสมบัติวัฒนา. (2565).
วารสารสภาการพยาบาล, 37(4), 52-72.
10) ปัจจัยทำนายการเกิดภาวะสับสนเฉียบพลันหลังผ่าตัดในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดแดงส่วนปลายอุดตัน.
ปุราภรณ์ โชคเฉลิมวงศ์, เกศศิริ วงษ์คงคำ, สุพร ดนัยดุษฎีกุล, คามิน ชินศักดิ์ชัย. (2564).
วารสารสภาการพยาบาล, 36(1), 129-149.
11) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดแดงส่วนปลายอุดตันภายใน 6 เดือนแรกหลังทeการผ่าตัดเพิ่มการไหลเวียนของเลือดแดงส่วนปลาย.
ลัดดาวัลย์ นามโยธา, สุพร ดนัยดุษฎีกุล, เกศศิริ วงษ์คงคำ, ชุมพล ว่องวานิช. (2564).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 39(2), 64-76.
12) -.
Sanonoi, N., อุษาวดี อัศดรวิเศษ, เกศศิริ วงษ์คงคำ, Tocharoenchok, T. (2564).
จุฬาลงกรณ์เวชสาร, 65(2), 179-186.
13) -.
Duangjuk, J., อุษาวดี อัศดรวิเศษ, เกศศิริ วงษ์คงคำ, Tocharoenchok, T. (2564).
จุฬาลงกรณ์เวชสาร, 65(3), 249-257.
14) ผลของโปรแกรมการจัดการความปวดด้วยการประคบเย็นร่วมกับการใช้ผ้ารัดหน้าท้องต่อระดับความปวดและการเคลื่อนไหวร่างกายหลังผ่าตัดในผู้ป่วยนรีเวชที่ได้รับการผ่าตัดแบบเปิดหน้าท้อง.
เกศริน อินธิยศ, วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์, เกศศิริ วงษ์คงคำ, ชินา โอฬารรัตนพันธ์. (2564).
วารสารสภาการพยาบาล, 36(3), 83-102.
15) ผลของโปรแกรมการเตรียมผู้ดูแลต่อความรู้และทักษะในการดูแล ผู้ป่วยโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่หลังผ่าตัดที่บ้าน.
สมจีน ยะหัวฝาย, ผ่องศรี ศรีมรกต, เกศศิริ วงษ์คงคำ, เชิดศักดิ์ ไอรมณีรัตน์. (2563).
วารสารสภาการพยาบาล, 35(1), 118-34.
16) ปัจจัยทำนายคุณภาพชีวิตผู้ป่วยมะเร็งตับที่รับการรักษาด้วยการให้ยาเคมีบำบัดทางสายสวนหลอดเลือดแดง.
อรุณ นิลเลิศ, ผ่องศรี ศรีมรกต, เกศศิริ วงษ์คงคำ, สมราช ธรรมธรวัฒน์. (2562).
วารสารสภาการพยาบาล, 34(2), 94-111.
17) ปัจจัยทำนายการฟื้นตัวในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดแดงบริเวณขาตีบตันภายหลังการผ่าตัด โดยผ่านทางสายสวนหลอดเลือดแดง.
รัชดาภรณ์ เรืองวิเศษ, นภาพร วาณิชย์กุล, สุพร ดนัยดุษฎีกุล, เกศศิริ วงษ์คงคำ, คามิน ชินศักดิ์ชัย. (2560).
วารสารสภาการพยาบาล, 32(2), 79-94.
18) นวัตกรรมการจัดระบบการดูแลสำหรับผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงโรคไตวายเรื้อรัง: กรณีศึกษาโรงพยาบาลชุมชนแห่งหนึ่ง จังหวัดนครปฐม.
เกศศิริ วงษ์คงคำ. (2559).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 34(1), 27-43.
19) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับสมรรถนะการสร้างเสริมสุขภาพของพยาบาลวิชาชีพในเขตพื้นที่ภาคกลาง.
เกศศิริ วงษ์คงคำ, ปิยะธิดา นาคะเกษียร. (2559).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 34(2), 102-116.
20) ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการจัดการตนเองของผู้ป่วยหลอดเลือดแดงส่วนปลายตีบตัน ภายหลังได้รับการรักษาผ่านทางสายสวนหลอดเลือดแดง.
สุนันทา ตนกลาย, สุวิมล กิมปี, สุพร ดนัยดุษฎีกุล, เกศศิริ วงษ์คงคำ, ชุมพล ว่องวานิช. (2557).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 32(1), 39-50.
1) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการติดเชื้อในกระแสเลือดในผู้ป่วยแผลไหม้.
นันธิพร นันธิพร, อรพรรณ โตสิงห์, สุพร ดนัยดุษฎีกุล, เกศศิริ วงษ์คงคำ. (2558).
วารสารสภาการพยาบาล, 30(4), 19-31.
2) ความสัมพันธ์ระหว่างความต้องการการดูแลด้านมะเร็งสภาพของลิ้น ภาวะโรคร่วม กับภาวะการทำหน้าที่ในช่องปากของผู้ป่วยมะเร็งลิ้นและพื้นปากหลังผ่าตัด.
ชัชสุดา ธนอมรพงศ์, สุวิมล กิมปี, ปรางทิพย์ ฉายพุทธ, เกศศิริ วงษ์คงคำ, ภาวิน เกษกุล. (2557).
วารสารสภาการพยาบาล, 29(1), 67-81.