…การพยาบาลนั้น ไม่ใช่ว่าจะมีประโยชน์แต่การพยาบาลอย่างเดียว
ย่อมเป็นประโยชน์สำหรับบำรุงชาติและบ้านเมืองของเราด้วย…
ชื่อ | ผศ.ดร.ฤดี ปุงบางกะดี่ |
---|---|
ตำแหน่ง | |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ | |
อีเมล | rudee.pun@mahidol.ac.th |
ที่อยู่ | เลขที่ 2 ถนนวังหลัง แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ 10700 |
โทร | 02-4197466-80 ต่อ 1811 |
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ปริญญาโท: พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (พย.ม.) การพยาบาลแม่และเด็กมหาวิทยาลัยมหิดล
ปริญญาตรี: พยาบาลศาสตรบัณฑิต (พย.บ.) พยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ (ABAC)
1) Evaluation of antenatal simulation-based learning on satisfaction and self-confidence levels among Thai undergraduate nursing students during the COVID-19 pandemic: a mixed-method study.
Kuesakul, K., Nuampa, S., Pungbangkadee, R., Ramjan, L., Ratinthorn, A.. (2024).
BMC Nursing, 23(1), 161-0.
2) Myanmar immigrant women’s perceptions, beliefs, and information-seeking behaviors with nutrition and food practices during pregnancy in Thailand: a qualitative study.
Nuampa, S., Tangsuksan, P., Sasiwongsaroj, K., Pungbangkadee, R., Rungamornrat, S., et al.. (2024).
International Journal for Equity in Health volume, 23(1), 156-0.
3) Outcomes of video training on smoking cessation counseling for nurses.
Kalampakorn, S., Panpakdee, O., Pungbangkadee, R., Rawiworrakul, T. (2023).
Tobacco Induced Diseases, 21(1), 53-0.
4) Effects of education and guided imagery program on stress level and coping behaviors among pregnant women at risk of preterm birth.
Ukhawounam, U., Limruangrong, P., Pungbangkadee, R., Vongsirimas, N.. (2023).
International Journal of Women's Health, 15, 1581-1591.
1) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความเหนื่อยล้าในระยะคลอดของผู้คลอดครรภ์แรก.
วิภวานี ทาเอื้อ, ฤดี ปุงบางกะดี่, วรรณา พาหุวัฒนกร. (2567).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 42(1), 84-94.
2) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการรับบริการฝากครรภ์ของสตรีแรงงานข้ามชาติในเขตกรุงเทพมหานคร.
ไพลิน ฐิติโชติรัตนา, ฤดี ปุงบางกะดี่, เอมพร รตินธร. (2567).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 42(2), 59-72.
3) อิทธิพลของอายุ การฝากครรภ์ครบตามเกณฑ์ ระดับการศึกษา และการใช้ข้อมูลทางสุขภาพจากสื่อสังคมออนไลน์ ต่อพฤติกรรมการปฏิบัติตนหลังคลอดของมารดาวัยรุ่นครรภ์แรก.
ชลธิชา กิจบำรุง, วรรณา พาหุวัฒนกร, ฤดี ปุงบางกะดี่. (2567).
วารสารพยาบาลทหารบก, 25(3), 240-248.
4) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการบีบบังคับด้านการเจริญพันธุ์ในสตรีที่มารับบริการในคลินิกวางแผนครอบครัว.
เนตรสุมล จตุรจรรยาเลิศ, เอมพร รตินธร, ฤดี ปุงบางกะดี่. (2566).
วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย, 15(3), 73-86.
5) ผลของวิดีทัศน์การให้คำปรึกษาเลิกบุหรี่ต่อความรู้และการรับรู้สมรรถนะตนเองของนักศึกษาพยาบาล.
ฤดี ปุงบางกะดี่, สุรินธร กลัมพากร, อรสา พันธ์ภักดี, ทัศนีย์ รวิวรกุล. (2565).
วารสารพยาบาล, 71(3), 36-47.
6) ผลของการจัดท่าคลอดกึ่งนั่งยองร่วมกับวิธีการเบ่งคลอดแบบธรรมชาติต่อเวลาในระยะที่สองของการคลอด และระดับการฉีกขาดของฝีเย็บในผู้คลอดครรภ์แรก.
ปัญชลิกา วีระเดช, เอมพร รตินธร, ฤดี ปุงบางกะดี่. (2565).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 40(1), 69-83.
7) ปัจจัยทำนายด้านความรู้ ทัศนคติ การคล้อยตามกลุ่มอ้างอิง และการรับรู้ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรมต่อความตั้งใจในการคุมกำเนิดระยะยาวในสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่นครรภ์แรก.
พัชราวรรณ เครื่องแก้ว, วรรณา พาหุวัฒนกร, ฤดี ปุงบางกะดี่. (2564).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 39(1), 64-76.
8) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการปฏิบัติเพื่อควบคุมยาสูบของพยาบาลวิชาชีพที่เคยเป็นแกนนำของชมรมนักศึกษาพยาบาลสร้างสังคมไทยปลอดบุหรี่.
สาธกา พิมพ์รุณ, ฤดี ปุงบางกะดี่, ยุพา จิ๋วพัฒนกุล, ธิราวรรณ เชื้อตาเล็ง. (2564).
วารสารพยาบาลทหารบก, 22(1), 216-225.
9) ผลของโปรแกรมส่งเสริมการคุมกําาเนิดต่อความรู้และความตั้งใจในการคุมกําาเนิดในมารดาวัยรุ่น.
พรรณพิไล ศรีอาภรณ์, ฤดี ปุงบางกะดี่, จิราวรรณ ดีเหลือ, จิระศักดิ์ สาระรัตน์, พัชนียา เชียงตา, ชัชฏาพร จันทรสุข, ลวิตรา เขียวคํา, รุณราวรรณ์ แก้วบุญเรือง. (2564).
พยาบาลสาร, 48(1), 199-209.
10) ผลของโปรแกรมทุนทางจิตวิทยาเชิงบวกต่อการเลิกบุหรี่ของทหารกองประจําการ.
สายสมร เฉลยกิตติ, ศิริพร พูลรักษ์, ชฎาภา ประเสริฐทรง, ฤดี ปุงบางกะดี่, และคณะ. (2564).
วารสารพยาบาลตำรวจ, 13(1), 190-198.
11) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความเครียดจากภาวะมีบุตรยากในสตรีที่มีบุตรยาก.
ดารินทร์ ศรีชุม, เอมพร รตินธร, ฤดี ปุงบางกะดี่. (2564).
วารสารพยาบาลทหารบก, 22(3), 453-461.
12) Mahidol Model: Integrative, Area-based, Prevention and Alleviation of Teenage Pregnancy.
สุวรรณา เรืองกาญจนเศรษฐ์, จิราภรณ์ อรุณากูร, ธีรนงค์ สกุลศรี, พัชรินทร์ เสรี, เอมพร รตินธร, อาภา ภัคภิญโญ, และคณะ, ฤดี ปุงบางกะดี่. (2563).
วารสารวิชาการสาธารณสุข, 29(1), 76-90.
13) ผลของโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่นต่อน้ำหนักที่เพิ่มขึ้นตลอดการตั้งครรภ์และน้ำหนักทารกแรกเกิด.
จิตต์ระพี บูรณศักดิ์, พุทธิราภรณ์ หังสวนัส, วิไล ไรวา, ฤดี ปุงบางกะดี่, นัยนา แขดกิ่ง. (2563).
วารสารพยาบาลทหารบก, 21(2), 434-442.
14) ปัจจัยทำนายการเกิดทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยในสตรีตั้งครรภ์ที่ฝากครรภ์วัยรุ่น.
ปิยาภรณ์ ล่าฟ้าเริงรณ, เอมพร รตินธร, ฤดี ปุงบางกะดี่, ภัทรวลัย ตลึงจิตร. (2561).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 36(2), 30-41.
15) ปัจจัยและผลกระทบจากการตั้งครรภ์ซ้ำของสตรีวัยรุ่นไทย: กรณีศึกษาในกรุงเทพมหานคร.
ฤดี ปุงบางกะดี่, เอมพร รตินธร. (2557).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 32(2), 23-31.
16) ผลของการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องการตรวจครรภ์ต่อความรู้ ทักษะการตรวจครรภ์ และความพึงพอใจของนักศึกษาพยาบาล.
จิตต์ระพี บูรณศักดิ์, ปิยะนันท์ ลิมเรืองรอง, ฤดี ปุงบางกะดี่. (2557).
วารสารพยาบาลทหารบก, 15(3), 361-370.
1) Roles of Thai Nursing Students in Tobacco Control.
Pungbangkadee, R., Tunlayatorn, P. (2016).
The 11th Asia Pacific Conference on Tobacco or Health (APACT). 0-0.