…การพยาบาลนั้น ไม่ใช่ว่าจะมีประโยชน์แต่การพยาบาลอย่างเดียว
ย่อมเป็นประโยชน์สำหรับบำรุงชาติและบ้านเมืองของเราด้วย…
ชื่อ | รศ.ดร.ปรางทิพย์ ฉายพุทธ |
---|---|
ตำแหน่ง | |
รองศาสตราจารย์ | |
อีเมล | prangtip.cha@mahidol.ac.th |
ที่อยู่ | เลขที่ 2 ถนนวังหลัง แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ 10700 |
โทร | 02-4197466-80 ต่อ 1757 |
Boston College
ปริญญาโท: Master of Science in Nursing Adult Health NursingBoston College
ปริญญาโท: วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.) สรีรวิทยามหาวิทยาลัยมหิดล
ปริญญาตรี: นิติศาสตรบัณฑิต (น.บ.)มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ปริญญาตรี: วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับ 2) (-) พยาบาลและผดุงครรภ์ (เกียรตินิยมอันดับ 2)มหาวิทยาลัยมหิดล
1) การศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลและข้อมูลทางคลินิกในผู้บาดเจ็บจากอุบัติเหตุ: การศึกษาไปข้างหน้าและย้อนหลัง.
ปิยาภรณ์ เยาวเรศ (หัวหน้าโครงการวิจัย), ปรางทิพย์ ฉายพุทธ.
กองทุน ซี.เอ็ม.บี คณะพยาบาลศาสตร์. 2561.
1) Prevalence and predictors of postcholecystectomy syndrome in Nepalese patients after 1 week of laparoscopic cholecystectomy: a cross-sectional study.
Shrestha, R., Chayaput, P., Wongkongkam, K., Chanruangvanich, W.. (2024).
Scientific Reports, 14(1), 4903-0.
2) -.
Tepkit, N., เกศศิริ วงษ์คงคำ, ปรางทิพย์ ฉายพุทธ, Chinsakchai, K. (2567).
Journal of Vascular Nursing, 42(2), 99-104.
3) Effects of physical exercise program on physical mobility of patients with cranial surgery.
Panyasarawut, J., Chanruangvanich, W., Chayaput, P., Witthiwej, T. (2021).
Siriraj Medical Journal, 73(10), 695-701.
4) Coping and Health Problems of Caregivers of Survivors with Traumatic Brain Injury.
Chayaput, P., Utriyaprasit, K., Bootcheewan, S. , Thosingha, O.. (2014).
Aquichan, 14(2), 170-183.
1) ปัจจัยทำนายการเกิดภาวะไตบาดเจ็บเฉียบพลันจากสารทึบรังสีในผู้ป่วยที่ได้รับการตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ร่วมกับการฉีดสารทึบรังสี.
จิตรานันต์ กงวงษ์, เกศศิริ วงษ์คงคำ, ปรางทิพย์ ฉายพุทธ, กอบกุล เมืองสมบูรณ์. (2567).
วารสารสภาการพยาบาล, 39(1), 109-127.
2) การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลและปัจจัยทางคลินิกที่คัดสรรกับพฤติกรรมเสี่ยงในผู้บาดเจ็บจากอุบัติเหตุ.
ปิยาภรณ์ เยาวเรศ, ปรางทิพย์ ฉายพุทธ, อมรรัตน์ พูลเกตุ, ชนินทร เกลี้ยงดา. (2565).
วารสารสภาการพยาบาล, 37(2), 128-142.
3) ปัจจัยทำนายการเกิดภาวะแทรกซ้อนระยะ 7 วันหลังผ่าตัดในผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดเนื้องอกสมอง.
เขมรัฐ ปั้นหลุย, ปรางทิพย์ ฉายพุทธ, วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์, บรรพต สิทธินามสุวรรณ. (2565).
วารสารเกื้อการุณย์, 29(1), 118-131.
4) การศึกษาเปรียบเทียบปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะช็อกจากการบาดเจ็บระหว่างผู้บาดเจ็บผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ.
นงนุช พันธ์หอม, วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์, อรพรรณ โตสิงห์, ปรางทิพย์ ฉายพุทธ. (2565).
วารสารสภาการพยาบาล, 37(3), 128-143.
5) ผลของโปรแกรมการให้ข้อมูลการแสดงเจตนาล่วงหน้าในการรักษาพยาบาลต่อการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจวางแผนการรักษาในผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับการรักษาแบบประคับประคอง.
ปิยารัตน์ รุ่งเรือง, ปรางทิพย์ ฉายพุทธ, วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์. (2565).
วารสารสภาการพยาบาล, 37(4), 95-110.
6) ปัจจัยทำนายการเข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยวิกฤตฟลังผ่าตัดของผู้บาดเจ็บหลังการผ่าตัดด่วน.
โชษิกาวรรณ มณีโชติ, วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์, ปรางทิพย์ ฉายพุทธ, กฤษณ์ แก้วโรจน์. (2565).
วารสารสภาการพยาบาล, 37(1), 89-107.
7) การศึกษาเปรียบเทีียบปัจจัยทีางคลินิกระหว่่างผู้้บาดเจ็บจากอุุบัติิเหติุวัยผู้ใหญ่ ผู้สูงอายุตอนต้น และผู้สูงอายุ.
ภรณ์ทิพย์ สุญาสิทธิ์, ปรางทิพย์ ฉายพุทธ, อรพรรณ โตสิงห์, จตุพร ศิริกุุล. (2564).
วารสารสภาการพยาบาล, 36(1), 110-128.
8) ปัจจัยทำนายความรุนแรงของการเปลี่ยนแปลงทางสรีระของผู้ป่วยติดเชื้อที่รับกํารรักษาในห้องฉุกเฉิน.
ภูมินทร์ ดวงสุริยะ , วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์, ปรางทิพย์ ฉายพุทธ, อรพรรณ โตสิงห์ . (2564).
วารสารสภาการพยาบาล, 36(3), 134-50.
9) ปัจจัยทำนายความต้องการใช้เครื่องช่วยหายใจในผู้ป่วยวิกฤตศัลยกรรม.
ยุทธพิชัย โพธิ์ศรี, ปรางทิพย์ ฉายพุทธ, อรพรรณ โตสิงห์ , สรชัย ศรีสุมะ . (2564).
วารสารสภาการพยาบาล, 36(3), 118-133.
10) ปัจจัยทำนายการเกิดภาวะสับสนเฉียบพลันหลังผ่าตัดในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดแดงส่วนปลายอุดตัน.
นรินทร์ พิพัฒนวรคุณ, ปรางทิพย์ ฉายพุทธ, วิราพรรณ วิโรจน์รัตน์, วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์. (2564).
วารสารสภาการพยาบาล, 36(4), 129-149.
11) การเปรียบเทียบความสามารถในการทำกิจกรรม ความปวด อาการรบกวนด้านโภชนาการ คุณภาพการนอนหลับ และภาวะโภชนาการระหว่างผู้ป่วยผู้ใหญ่และผู้ป่วยผู้สูงอายุมะเร็งศีรษะและคอ.
อารียา ประเสริฐสังข์, วิราพรรณ วิโรจน์รัตน์, ปรางทิพย์ ฉายพุทธ, ภาวิน เกษกุล. (2564).
วารสารพยาบาลทหารบก, 22(3), 160-170.
12) ปัจจัยทำนํายความทุกข์ทรมานของญาติผู้ดูแลผู้ป่วยผ่าตัดทํางประสาทศัลยศาสตร์ระยะประคับประคอง.
ศศิธร อิ่มมณี, วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์, ปรางทิพย์ ฉายพุทธ, ปฤณัต อิทธิเมธินทร์. (2563).
วารสารสภาการพยาบาล, 35(4), 54-69.
13) อิทธิพลของความรุนแรงของการบาดเจ็บ โรคร่วม จํานวนครั้งของการผ่าตัด จํานวนภาวะแทรกซ้อน ต่อจํานวนวันนอนโรงพยาบาล ในผู้บาดเจ็บจากอุบัติเหตุ.
ปิยาภรณ์ เยาวเรศ, ปรางทิพย์ ฉายพุทธ, สุดารัตน์ เปี่ยมสินธุ์, กาญจนา มิตตานนท์สกุล. (2563).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 38(4), 91-103.
14) ปัจจัยทำนายการฟื้นสภาพทางกายในผู้บาดเจ็บรยางค์.
จุฑามาศ พันธ์ดี, ปรางทิพย์ ฉายพุทธ, วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์, ต้องพร วรรณะธูป. (2562).
วารสารสภาการพยาบาล, 34(4), 48-63.
1) ความสัมพันธ์ระหว่างความรุนแรงของการเปลี่ยนแปลงทางสรีระ อายุ โรคร่วมกับผลลัพธ์การจำหน่ายออกจากห้องฉุกเฉินในผู้ป่วยฉุกเฉินผู้ใหญ่.
อรพรรณ โตสิงห์, ไกรศร จันทร์นฤมิตร, ปรางทิพย์ ฉายพุทธ, ทิพา ต่อสกุลแก้ว. (2559).
วารสารสภาการพยาบาล, 31(2), 123-132.
2) อิทธิพลของระดับความปวด ลักษณะอาหาร และสุขภาพช่องปากต่อการรับประทานอาหารในผู้ป่วยมะเร็งช่องปากหลังการผ่าตัด.
อุษา เข็มทอง, ปรางทิพย์ ฉายพุทธ, วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์, สืบวงศ์ จุฑาภิสิทธิ์. (2558).
วารสารสภาการพยาบาล, 30(2), 60-74.
3) ความสัมพันธ์ระหว่างความต้องการการดูแลด้านมะเร็งสภาพของลิ้น ภาวะโรคร่วม กับภาวะการทำหน้าที่ในช่องปากของผู้ป่วยมะเร็งลิ้นและพื้นปากหลังผ่าตัด.
ชัชสุดา ธนอมรพงศ์, สุวิมล กิมปี, ปรางทิพย์ ฉายพุทธ, เกศศิริ วงษ์คงคำ, ภาวิน เกษกุล. (2557).
วารสารสภาการพยาบาล, 29(1), 67-81.