…การพยาบาลนั้น ไม่ใช่ว่าจะมีประโยชน์แต่การพยาบาลอย่างเดียว
ย่อมเป็นประโยชน์สำหรับบำรุงชาติและบ้านเมืองของเราด้วย…
ชื่อ | รศ.ดร.อาภาวรรณ หนูคง |
---|---|
ตำแหน่ง | |
รองศาสตราจารย์ | |
อีเมล | apawan.noo@mahidol.ac.th |
ที่อยู่ | เลขที่ 2 ถนนวังหลัง แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ 10700 |
โทร | 02-4197466-80 ต่อ 1858 |
The University of Iowa
ปริญญาโท: Master of Science degrees in Nursing (M.S.) NursingUniversity of Alabama at Birmingham
ปริญญาโท: พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (พย.ม.) การพยาบาลแม่และเด็กมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ปริญญาตรี: วิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) พยาบาลและผดุงครรภ์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
1) โครงการพัฒนาระบบและกลไกเพื่อสุขภาวะเด็กปฐมวัย: ภาคกลางและภาคตะวันตก.
อาภาวรรณ หนูคง (หัวหน้าโครงการวิจัย).
สำนักงานกองทุนสนับสนุนและสร้างเสริมสุขภาพ. 2562.
2) โครงการสนับสนุนวิชาการเพื่อสุขภาวะเด็กปฐมวัยโดยครอบครัวและชุมชนเป็นฐาน ภาคกลางและตะวันตก.
อาภาวรรณ หนูคง (หัวหน้าโครงการวิจัย).
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. 2560.
1) A Program for parents’ screen time reduction for preschool children: a quasi-experimental study.
Boonmun, W., Phuphaibul, R., Hongsanguansri, S., Nookong, A., Chansatitporn, N. (2023).
Pacific Rim International Journal of Nursing Research, 27(2), 368-380.
2) Causal relationships among self-management behaviors, symptom control, health-related quality of life and the influencing factors among Thai adolescents with asthma.
Sang-ngam, J., Prasopkittikun, T., Nookong, A., Pacharn, P., Chamchan, C. (2023).
International Journal of Nursing Sciences, 10(3), 309-317.
3) Factors influencing the quality of life and nutritional status of 0-2 years old children.
Rungamornrat, S., Nookong, A., Pongsaranuntakul, Y., Srilasak, C. (2022).
Siriraj Medical Journal, 74(3), 142-151.
4) Effectiveness of online health literacy program for covid-19 prevention among teachers in childcare centers: a quasiexperimental study.
Lenwari, C., Witoonsakul, P., Nookong, A.. (2022).
Pacific Rim International Journal of Nursing Research, 26(2), 254-268.
5) Relationship among the knowledge, attitudes, and practice of executive functions of teachers in childcare centers in Thailand.
Rungamornrat, S., Nookong, A., Pongsaranuntakul, Y., Srichantaranit, A., Supcharoenmark, L.. (2021).
Asia-Pacific Journal of Research in Early Childhood Education, 15(3), 25-43.
1) ผลของโปรแกรมการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพต่อพฤติกรรมการส่งเสริมพัฒนาการ ด้านการใช้ภาษาของผู้ดูแล และพัฒนาการด้านการใช้ภาษาในเด็กอายุ 2 - 5 ปี.
ฐานวีร์ ธนชัยบุบผารมย์, อาภาวรรณ หนูคง, สมสิริ รุ่งอมรรัตน์. (2567).
วารสารวิจัยสุขภาพและการพยาบาล, 40(2), 12-24.
2) ปัจจัยทำนายปัญหาพฤติกรรมด้านการคิดเชิงบริหารในเด็กก่อนวัยเรียน.
ลักษณ์ขนิษฐา อรัญกิตติภูมิ, สมสิริ รุ่งอมรรัตน์, อาภาวรรณ หนูคง. (2567).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 42(3), 88-104.
3) การศึกษาเปรียบเทียบปัจจัยคัดสรรของเด็กวัยเรียนและผู้ปกครองระหว่างเด็กที่มีภาวะโภชนาการปกติและเด็กเสี่ยงต่อภาวะเมตาบอลิกซินโดรมในจังหวัดชัยนาท.
กาญจนาภรณ์ ทีฆะภรณ์, อาภาวรรณ หนูคง, อรุณรัตน์ ศรีจันทรนิตย์. (2567).
วารสารแพทย์นาวี, 51(2), 301-316.
4) ผลของโปรแกรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามแผนผ่านสมาร์ทโฟนแอปพลิเคชันต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองและการควบคุมอาการของเด็กวัยเรียนโรคหืด.
ณัฐกาญจน์ การัณยภาสสกุล, อาภาวรรณ หนูคง, อรุณรัตน์ ศรีจันทรนิตย์. (2567).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 42(3), 71-87.
5) ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการจัดการตนเองของวัยรุ่นโรคเบาหวานชนิดที่ 1.
สุพรรษา ขวัญสมคิด, อาภาวรรณ หนูคง, วนิดา เสนะสุทธิพันธุ์. (2566).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 41(1), 12-26.
6) ผลของการใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลระบบสัญญาณเตือนก่อนภาวะวิกฤตต่อความรู้ การปฏิบัติ และการตรวจพบภาวะผิดปกติในทารกแรกเกิดกลุ่มเสี่ยงของพยาบาล.
ปนัดดา บุบผามาโล, อาภาวรรณ หนูคง, สมสิริ รุ่งอมรรัตน์. (2566).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 41(3), 79-93.
7) ปัจจัยทำนายการควบคุมอาหารของโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในเด็กวัยเรียน.
จารุวรรณ ไทยบัณฑิต, อาภาวรรณ หนูคง, อรุณรัตน์ ศรีจันทรนิตย์. (2564).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 39(2), 36-49.
8) รูปแบบการพัฒนาคุณภาพสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย: กรณีศึกษาศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนแห่งหนึ่งสังกัดกรุงเทพมหานคร.
ยุวดี พงษ์สาระนันทกุล, สมสิริ รุ่งอมรรัตน์, อาภาวรรณ หนูคง, ลัดดาวัลย์ ทรัพย์เจริญมาก. (2564).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 39(3), 91-105.
9) ความต้องการและการได้รับการตอบสนองความต้องการของผู้ดูแลในการมีส่วนร่วมเพื่อบรรเทาความปวดจากหัตถการที่ใช้เข็มของผู้ป่วยเด็กในหออภิบาลกุมารเวชกรรม: การรับรู้ของผู้ดูแลและพยาบาล.
เพ็ญรัชต์ โค้วไพโรจน์, สุดาภรณ์ พยัคฆเรือง, อาภาวรรณ หนูคง. (2564).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 39(4), 55-96.
10) ปัจจัยคัดสรรที่มีความสัมพันธ์กับความสม่ำเสมอในการได้รับยาเคมีบําบัดทางหลอดเลือดดําในผู้ป่วยเด็กโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาว.
ชไมพร ประคํานอก, อาภาวรรณ หนูคง, สมสิริ รุ่งอมรรัตน์. (2563).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 38(3), 35-49.
11) ปัจจัยทำนายความสม่ำเสมอในการใช้ยาพ่นของเด็กวัยเรียนโรคหืดในโรงพยาบาลระดับตติยภูม.
สุดารัตน์ วันงามวิเศษ, อาภาวรรณ หนูคง, สุดาภรณ์ พยัคฆเรือง. (2562).
วารสารวิจัยทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ, 13(2), 20-29.
12) ผลของโปรแกรมการสนับสนุนการคัดกรองพัฒนาการเด็กปฐมวัยต่อความรู้และทักษะของครูอนุบาลในศูนย์พัฒนาเด็กปฐมวัย.
อุดมญา พันธนิตย์, อาภาวรรณ หนูคง, จินต์ณาภัส แสงงาม, กรรณิการ์ ชัยลี, กรรณิการ์ เกิดศรีพันธุ์, กิ่งกาญจน์ เกิดศรีพันธุ์. (2562).
วารสารพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม, 20(39), 60-72.
13) การป้องกันภาวะเมตาบอลิกซินโดรมสำหรับวัยรุ่นในโรงเรียนการวิจัยแบบมีส่วนร่วม.
อาภาวรรณ หนูคง, วนิดา เสนะสุทธิพันธุ์. (2562).
วารสารสภาการพยาบาล, 34(2), 44-61.
14) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการคิดเชิงบริหารของเด็กก่อนวัยเรียน.
ดวงฤทัย เสมคุ้มหอม, อาภาวรรณ หนูคง, สมสิริ รุ่งอมรรัตน์, นวลจันทร์ จุฑาภักดีกุล. (2562).
วารสารสภาการพยาบาล, 34(8), 80-94.
15) ผลของโปรแกรมการควบคุมน้ำหนักต่อพฤติกรรมการบริโภคและพฤติกรรมการทำกิจกรรมทางกายของเด็กวัยเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกิน.
ธัญลักษณ์วดี ก้อนทองถม, อาภาวรรณ หนูคง, พรรณรัตน์ แสงเพิ่ม. (2561).
วารสารพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 30(2), 28-40.
16) ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ การรับรู้สมรรถนะตนเองของพยาบาลและอุปสรรคในการปฏิบัติการพยาบาล กับการปฏิบัติการพยาบาลด้านจิตสังคมสำหรับผู้ป่วยเด็กที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล.
กาญจนา ครองธรรมชาติ, อาภาวรรณ หนูคง, กันยารัตน์ วงษ์เหมือน. (2560).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 35(2), 28-38.
17) ประสบการณ์การพบอาการหอบของเด็กและกลวิธีในการจัดการอาการของผู้ดูแลเด็กโรคหืดที่มีความรุนแรงของอาการหอบแตกต่างกัน.
กัลยา ประจงดี, อาภาวรรณ หนูคง, สุดาภรณ์ พยัคฆเรือง. (2560).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 35(2), 52-63.
18) ผลของโปรแกรมการจัดการสิ่งแวดล้อมต่อปริมาณไรฝุ่น ความรู้ และพฤติกรรมของผู้ปกครองและบุคลากรในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก.
ณัฐมน สีธิแก้ว, อาภาวรรณ หนูคง, สมสิริ รุ่งอมรรัตน์, ณัฐ มาลัยนวล. (2560).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 35(1), 36-47.
19) การนำแนวทางการส่งเสริมโภชนาการไปใช้ในเด็กก่อนวัยเรียนที่มี ภาวะโภชนาการเกินในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก.
สมสิริ รุ่งอมรรัตน์, อาภาวรรณ หนูคง, ณัฐธิรา ไกรมงคล, รุ่งรดี พุฒิเสถียร. (2560).
วารสารสภาการพยาบาล, 32(4), 108-120.
20) ปัจจัยทำนายการปฏิบัติการพยาบาลตามหลักฐานเชิงประจักษ์ของพยาบาลเด็ก.
ทัศนี ประสบกิตติคุณ, ศศิวิมล ศิริรักษ์, อาภาวรรณ หนูคง. (2559).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 34(suppl1), 5-15.
21) อิทธิพลส่งผ่านของความรู้สึกไม่แน่นอนในความเจ็บป่วยระหว่างการรับรู้ความรุนแรงในความเจ็บป่วยของบุตร ระดับการศึกษาและการสนับสนุนทางสังคม กับความวิตกกังวลของบิดามารดาที่มีบุตรเข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยเด็กวิกฤต.
สุดาภรณ์ พยัคฆเรือง, มณีรัตน์ หม้ายพิมาย, อาภาวรรณ หนูคง. (2559).
วารสารพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 28(3), 84-97.
22) ปัจจัยทำนายด้านเด็กและผู้ดูแลในการทำนายการควบคุมโรคของเด็กวัยเรียนโรคหืด.
อาภาวรรณ หนูคง, เฌอร์นินทร์ ตั้งปฐมวงศ์, วนิดา เสนะสุทธิพันธุ์. (2559).
วารสารการพยาบาลและสุขภาพ, 34(2), 67-76.
23) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการปรับตัวของวัยรุ่นภายหลังได้รับการผ่าตัดยึดตรึงกระดูก.
อาภาวรรณ หนูคง, น้ำฝน ฤทธิภักดี, วัลยา ธรรมพนิชวัฒน์. (2559).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 34(3), 54-65.
24) การดำเนินงานของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในพื้นที่ภาคกลางของประเทศไทย.
อาภาวรรณ หนูคง, สมสิริ รุ่งอมรรัตน์. (2558).
วารสารการพยาบาลและสุขภาพ, 33(2), 32-43.
25) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความสำเร็จในการหย่าเครื่องช่วยหายใจในผู้ป่วยเด็ก: การศึกษาเบื้องต้น.
โสภา เกิดพิทักษ์, วัลยา ธรรมพนิชวัฒน์, อาภาวรรณ หนูคง. (2557).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 32(2), 32-40.
1) ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการออกกำลังกายและการทำกิจกรรมของวัยรุ่น.
วนิดา เสนะสุทธิพันธุ์, อาภาวรรณ หนูคง. (2558).
วารสารสภาการพยาบาล, 30(2), 46-59.
2) ผลของโปรแกรมการพยาบาลระบบสนับสนุนและให้ความรู้ต่อพฤติกรรมการดูแลของผู้ดูแลเด็กสมองพิการ.
ดวงใจ สนิท, อาภาวรรณ หนูคง, ทัศนี ประสบกิตติคุณ, อรุณรัตน์ ศรีจันทรนิตย์. (2558).
วารสารเกื้อการุณย์, 22(1), 60-81.