…การพยาบาลนั้น ไม่ใช่ว่าจะมีประโยชน์แต่การพยาบาลอย่างเดียว
ย่อมเป็นประโยชน์สำหรับบำรุงชาติและบ้านเมืองของเราด้วย…
ชื่อ | รศ.ดร.อัจฉริยา พ่วงแก้ว |
---|---|
ตำแหน่ง | |
รองศาสตราจารย์ | |
อีเมล | ajchariya.pon@mahidol.ac.th |
ที่อยู่ | เลขที่ 2 ถนนวังหลัง แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ 10700 |
โทร | 02-4197466-80 ต่อ 1958 |
มหาวิทยาลัยมหิดล
ปริญญาโท: พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (พย.ม.) การพยาบาลผู้ใหญ่มหาวิทยาลัยมหิดล
ปริญญาตรี: พยาบาลศาสตรบัณฑิต (พย.บ.) พยาบาลศาสตร์ (เกียรตินิยมอันดับ 2)วิทยาลัยพยาบาลสภากาชาดไทย
1) “Veralet”: หม้อนอนและระบบติดตามการปัสสาวะบนเตียง.
อัจฉริยา พ่วงแก้ว (หัวหน้าโครงการวิจัย).
กองทุน ซี.เอ็ม.บี คณะพยาบาลศาสตร์. 2567.
2) “Veralet”: หม้อนอนและระบบติดตามการปัสสาวะบนเตียง.
อัจฉริยา พ่วงแก้ว (หัวหน้าโครงการวิจัย).
เงินรายได้ มหาวิทยาลัยมหิดล. 2567.
3) แพลตฟอร์มการจัดการและติดตามการใช้ยาวอร์ฟารินทางไกลสำหรับผู้สูงอายุโดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัล.
อัจฉริยา พ่วงแก้ว.
สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ. 2565.
4) ปัจจัยการจัดบริการสุขภาพ และคุณลักษณะผู้ป่วยที่ทำนายคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยหัวใจล้มเหลว.
อัจฉริยา พ่วงแก้ว (หัวหน้าโครงการวิจัย).
กองทุน ซี.เอ็ม.บี คณะพยาบาลศาสตร์. 2561.
1) Incident of violence escalation of patients with psychiatric emergencies boarding in the emergency department in the central region of Thailand and its association: a prospective observational study.
Khlaisuk, A., Seeherunwong, A., Utriyaprasit, K., Poungkaew, A., Tongsai, S. (2024).
BMC Health Services Research, 24(1), 768-0.
2) Warfarin adherence and its associated factors in Thai older adults with atrial fibrillation.
Poungkaew, A., Tankumpuan, T., Riangkam, C., Kongwatcharapong, J., Daekunthod, T., et al. (2024).
Journal of Multidisciplinary Healthcare, 17, 4455-4464.
3) The preparation for interprofessional practice (IPP) in nursing students at Mahidol university, Thailand: the situation analysis.
Benjasirisan, C., Phianhasin, L., Ruksakulpiwat, S., Saneha, C., Boontein, P., Sriprasong, S., Kositamongkon, S., Samai, T., Prapaiwong, P., Musikthong, J., Tosuksri, W., Pattana-umpa, N., Phligbua, W., Riangkam, C., Poungkaew, A., Kongkar, R., Hanrop, S., Kasetkala, P., Jariyasakulwong, P., Lekdamrongkul, P., Tadsuan, J., Puwarawuttipanich, W.. (2021).
Siriraj Medical Journal, 73(2), 128-140.
1) อิทธิพลของคุณภาพการนอนหลับ ฮีโมโกลบิน ระยะเวลาการนอนโรงพยาบาลและการรู้คิดต่อคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพในผู้รอดชีวิตจากการติดเชื้อในกระแสเลือด ที่โรงพยาบาลศูนย์แพทยศาสตร์ศึกษาไม่สังกัดมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง.
อังคณา เสถียรดำเนิน, วิมลรัตน์ ภู่วราวุฒิพานิช, อัจฉริยา พ่วงแก้ว, ยงค์ รงค์รุ่งเรือง. (2567).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 42(2), 46-58.
2) ปัจจัยทำนายการกลับมารักษาซ้ำในโรงพยาบาลภายใน 30 วัน จากภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลัน.
พรชนก ปั้นรัตน์, อัจฉริยา พ่วงแก้ว, ดวงรัตน์ วัฒนกิจไกรเลิศ, ศรีสกุล จิรกาญจนากร. (2567).
วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย, 17(1), 100-119.
3) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความร่วมมือในการรักษาในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงวัยผู้ใหญ่.
เพชรลดา จันทร์ศรี, อัจฉริยา พ่วงแก้ว, อรวมน ศรียุกตศุทธ, ศรีสกุล จิรกาญจนากร. (2567).
วารสารสภาการพยาบาล, 39(2), 178-190.
4) ปัจจัยทำนายการสนับสนุนของผู้ดูแลเพื่อการดูแลตนเองในผู้ป่วยหัวใจล้มเหลว.
พรทิพย์ จาไธสง, อัจฉริยา พ่วงแก้ว, อรวมน ศรียุกตศุทธ, ศรีสกุล จิรกาญจนากร. (2567).
วารสารสภาการพยาบาล, 39(2), 205-218.
5) ปัจจัยทำนายกิจกรรมทางกายในผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว.
ชนิดา ลบแย้ม, อัจฉริยา พ่วงแก้ว, ดวงรัตน์ วัฒนกิจไกรเลิศ, ศรีสกุล จิรกาญจนากร. (2566).
วารสารสภาการพยาบาล, 38(1), 112-128.
6) ผลของโปรแกรมการสนับสนุนด้านข้อมูลแบบรูปธรรม-ปรนัยผ่านแอปพิลเคชันบนสมาร์ตโฟนต่อความวิตกกังวลของญาติผู้ป่วยเร่งด่วนในห้องฉุกเฉิน.
สุญาดา อรวงศ์ไพศาล, จงจิต เสน่หา, อัจฉริยา พ่วงแก้ว, ครองวงศ์ มุสิกถาวร. (2566).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 41(3), 34-49.
7) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความร่วมมือในการบริโภคอาหารตามแนวทางโภชนาการเพื่อหยุดความดันโลหิตสูงในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง.
ประภัสสร สเลลานนท์, ดวงรัตน์ วัฒนกิจไกรเลิศ, อัจฉริยา พ่วงแก้ว. (2566).
วารสารแพทย์นาวี, 50(3), 497-513.
8) ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการจัดการโรคเบาหวานด้วยตนเอง.
พรรณิภา บุญเทียร, อัจฉริยา พ่วงแก้ว, อรวรรณ ประภาศิลป์, พักตร์ศิริ เกื้อกูล. (2564).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 39(1), 13-23.
9) ผลของโปรแกรมการให้ข้อมูล แรงจูงใจ และทักษะการเฝ้าระวังตนเองผ่านแอปพลิเคชันไลน์ต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองในผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว.
กิตติยา มหาวิริโยทัย, ดวงรัตน์ วัฒนกิจไกรเลิศ, อัจฉริยา พ่วงแก้ว. (2564).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 39(1), 47-63.
10) ปัจจัยทำนายภาวะการเชื้อในกระแสเลือดในผู้ป่วยอายุรกรรม.
ลมัย พนมกุล, วิมลรัตน์ ภู่วราวุฒิพานิช, อัจฉริยา พ่วงแก้ว, ยงค์ รงค์รุ่งเรือง. (2564).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 39(3), 74-90.
11) ปัจจัยทำนายคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว.
อัจฉริยา พ่วงแก้ว, พรรณิภา บุญเทียร, ศศิมา ทองสาย, นพวรรณ เจริญยศ, ลัลน์ภัทรา ธนัตถ์โภคินันท์. (2563).
วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, 31(1), 179-197.
12) ปัจจัยทำนายความสุขของผู้สูงอายุในชุมชนที่มีโรคเรื้อรัง.
กันยารัตน์ อุบลวรรณ, อัจฉริยา พ่วงแก้ว, วิยะการ แสงหัวช้าง, กุลิสรา ขุนพินิจ. (2561).
วารสารสาธารณสุขศาสตร์, 48(2), 244-255.
13) พัฒนารูปแบบการส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคอาหารของพระสงฆ์: มุมมองของพระสงฆ์.
อัจฉริยา พ่วงแก้ว, รุ้งนภา ผาณิตรัตน์, จงจิต เสน่หา, ศศิมา กุสุมา ณ อยุธยา, ทิพาพันธ์ สังฆะพงษ์. (2561).
วารสารวิจัยทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ, 12(1), 81-91.
1) ปัจจัยทำนายสมรรถภาพปอดของผู้ประกอบอาชีพขับมอเตอร์ไซด์รับจ้างเขตกรุงเทพมหานคร.
พรรณิภา บุญเทียร, อัจฉริยา พ่วงแก้ว, ดรุณี เลิศสุดคนึง, เพ็ญจันทร์ เสรีวิวัฒนา. (2557).
วารสารสาธารณสุขศาสตร์, 44(1), 79-92.