…การพยาบาลนั้น ไม่ใช่ว่าจะมีประโยชน์แต่การพยาบาลอย่างเดียว
ย่อมเป็นประโยชน์สำหรับบำรุงชาติและบ้านเมืองของเราด้วย…
ชื่อ | รศ.ดร.อรุณรัตน์ ศรีจันทรนิตย์ |
---|---|
ตำแหน่ง | หัวหน้าภาควิชาการพยาบาลกุมารเวชศาสตร์ |
รองศาสตราจารย์ | |
อีเมล | arunrat.sri@mahidol.ac.th |
ที่อยู่ | เลขที่ 2 ถนนวังหลัง แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ 10700 |
โทร | 02-4197466-80 ต่อ 1852 |
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ปริญญาโท: พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (พย.ม.) บริหารการพยาบาลจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ปริญญาตรี: วิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) พยาบาลและผดุงครรภ์มหาวิทยาลัยมหิดล
1) Factors associated with mothers' knowledge of children with congenital heart disease in Bangkok, Thailand.
Khouenkoup, M., Srichantaranit, A., Sanasuttipun, W.. (2022).
Journal of Health Research, 0, 0-0.
2) A causal model for health-related quality of life among Thai adolescents with congenital heart disease.
Surathum, S., Prasopkittikun, T., Srichantaranit, A., Vongsirimas, N.. (2022).
Journal of Health Research, 0, 0-0.
3) Factors influencing caregivers' uncertainty of children undergoing cardiac surgery in Bangkok, Thailand.
Maneekunwong, K., Srichantaranit, A., Thampanichawat, W.. (2022).
Journal of Health Research, 36(5), 919-928.
4) Predictive Factors of Growth Among Preterm Migrant Children in Kanchanaburi Province, Thailand.
Noijeen, N., Rungamornrat, S., Srichantaranit, A.. (2021).
Journal of Population and Social Studies, 29, 401-415.
5) Relationship among the knowledge, attitudes, and practice of executive functions of teachers in childcare centers in Thailand.
Rungamornrat, S., Nookong, A., Pongsaranuntakul, Y., Srichantaranit, A., Supcharoenmark, L.. (2021).
Asia-Pacific Journal of Research in Early Childhood Education, 15(3), 25-43.
6) Thai nurses’ perceptions and practices of family-centered care: The implementation gap.
Prasopkittikun, T., Srichantaranit, A., Chunyasing, S. (2020).
International Journal of Nursing Sciences, 7(1), 74-80.
1) ปัจจัยทำนายการรับรู้ความสามารถของมารดาในการดูแลทารกเกิดก่อนกำหนดหลังจำหน่ายจากโรงพยาบาลในช่วงการระบาดของโควิด-19.
พจนวรรณ ยาท้าว, สมสิริ รุ่งอมรรัตน์, อรุณรัตน์ ศรีจันทรนิตย์. (2567).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 42(3), 58-70.
2) การศึกษาเปรียบเทียบปัจจัยคัดสรรของเด็กวัยเรียนและผู้ปกครองระหว่างเด็กที่มีภาวะโภชนาการปกติและเด็กเสี่ยงต่อภาวะเมตาบอลิกซินโดรมในจังหวัดชัยนาท.
กาญจนาภรณ์ ทีฆะภรณ์, อาภาวรรณ หนูคง, อรุณรัตน์ ศรีจันทรนิตย์. (2567).
วารสารแพทย์นาวี, 51(2), 301-316.
3) ผลของโปรแกรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามแผนผ่านสมาร์ทโฟนแอปพลิเคชันต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองและการควบคุมอาการของเด็กวัยเรียนโรคหืด.
ณัฐกาญจน์ การัณยภาสสกุล, อาภาวรรณ หนูคง, อรุณรัตน์ ศรีจันทรนิตย์. (2567).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 42(3), 71-87.
4) ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อของผู้ดูแลผู้ป่วยเด็กโรคมะเร็งที่ได้รับยาเคมีบำบัด.
ธัชกร คล้ายสุบรรณ, อรุณรัตน์ ศรีจันทรนิตย์, สุดาภรณ์ พยัคฆเรือง. (2567).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 42(3), 105-118.
5) ความสัมพันธ์ระหว่างความแตกฉานทางสุขภาพ การรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการดูแล และการสนับสนุนทางสังคม กับพฤติกรรมการดูแลของผู้ดูแลเด็กโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวที่ได้รับยาเคมีบำบัด.
แสงระวี สุทัศน์, วนิดา เสนะสุทธิพันธุ์, อรุณรัตน์ ศรีจันทรนิตย์. (2565).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 40(4), 49-64.
6) ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ภาวะสุขภาพและความรอบรู้ด้านสุขภาพของผู้ดูแลกับพฤติกรรมการดูแลเด็กโรคหัวใจพิการแต่กำเนิดชนิดไม่เขียว.
น้ำฝน แว้นแคว้น, อรุณรัตน์ ศรีจันทรนิตย์, วนิดา เสนะสุทธิพันธุ์. (2564).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 39(1), 24-37.
7) ปัจจัยทำนายการควบคุมอาหารของโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในเด็กวัยเรียน.
จารุวรรณ ไทยบัณฑิต, อาภาวรรณ หนูคง, อรุณรัตน์ ศรีจันทรนิตย์. (2564).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 39(2), 36-49.
8) ทัศนคติต่อการให้ผู้ปกครองอยู่กับเด็กขณะได้รับการทำหัตถการแบบรุกล้ำร่างกายของผู้ปกครองและพยาบาล.
จิราภรณ์ รัตนวงศ์, ทัศนี ประสบกิตติคุณ, อรุณรัตน์ ศรีจันทรนิตย์. (2564).
วารสารสภาการพยาบาล, 36(2), 93-109.
9) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพในการสื่อสารกับผู้ป่วยเด็กระยะสุดท้ายและครอบครัว.
พวงเพชร แก้วหาญ, อรุณรัตน์ ศรีจันทรนิตย์, วนิดา เสนะสุทธิพันธุ์. (2562).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 37(1), 32-44.
10) ผลของโปรแกรมการสอนต่อความรู้และพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อของผู้ดูแลเด็กโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาววัยก่อนเรียน.
เพ็ญพร อยู่เย็น, วนิดา เสนะสุทธิพันธุ์, อรุณรัตน์ ศรีจันทรนิตย์. (2562).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 34(4), 79-92.
11) ความสัมพันธ์ระหว่างอายุผู้ป่วย การรับรู้ความรุนแรงของโรคของผู้ดูแล ความเครียดและการสนับสนุนทางสังคม กับคุณภาพชีวิตของผู้ดูแลเด็กโรคหัวใจพิการแต่กำเนิด.
มัสลิน จันทร์ผา, วนิดา เสนะสุทธิพันธุ์, อรุณรัตน์ ศรีจันทรนิตย์. (2561).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 36(1), 73-86.
12) การเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็กโรคหัวใจพิการแต่กำเนิด.
เพชรลดา เพ็ชรเรือนทอง, อรุณรัตน์ ศรีจันทรนิตย์, ทัศนี ประสบกิตติคุณ. (2561).
วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์, 38(1), 10-21.
13) ประสบการณ์ของมารดาที่มีบุตรได้รับการผ่าตัดหัวใจ.
อรุณรัตน์ ศรีจันทรนิตย์, วัลยา ธรรมพนิชวัฒน์. (2561).
วารสารสภาการพยาบาล, 33(1), 74-88.
14) พฤติกรรมการดูแลเอื้ออาทรของพยาบาลตามการรับรู้ของมารดาข้ามชาติพม่า.
วัชรี เจนเจริญรัตน์, อรุณรัตน์ ศรีจันทรนิตย์, ทัศนี ประสบกิตติคุณ. (2560).
พยาบาลสาร, 44(3), 41-51.
15) ผลของโปรแกรมการสอนเรื่องการให้ยาชนิดรับประทานหลังผ่าตัดหัวใจ ต่อความรู้และพฤติกรรมของผู้ดูแลเด็กโรคหัวใจพิการแต่กำเนิด.
มัณฑนา ประชุมจิตร, วนิดา เสนะสุทธิพันธุ์, อรุณรัตน์ ศรีจันทรนิตย์. (2560).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 35(2), 39-51.
16) ปัจจัยทำนายการปฏิบัติของพยาบาลเด็กในการดูแลโดยมีครอบครัวเป็นศูนย์กลาง.
ทัศนี ประสบกิตติคุณ, จินดารัตน์ สมใจนึก, อรุณรัตน์ ศรีจันทรนิตย์. (2559).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 34(2), 70-79.
17) ผลของโปรแกรมการสอนต่อความรู้และพฤติกรรมของผู้ดูแลเพื่อส่งเสริมภาวะโภชนาการในเด็กโรคหัวใจพิการแต่กำเนิดชนิดไม่เขียว.
วนิดา เสนะสุทธิพันธุ์, นฤมล สมชื่อ, อรุณรัตน์ ศรีจันทรนิตย์. (2559).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 34(3), 79-92.
18) การสอนช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานด้วยวีดิทัศน์สำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยเด็กที่เสี่ยงต่อการเกิดภาวะหัวใจหยุดเต้น.
ทัศนี ประสบกิตติคุณ, ลดาวรรณ อุบล, อรุณรัตน์ ศรีจันทรนิตย์, ชดชนก วิจารสรณ์. (2559).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 34(3), 66-78.
19) การวิเคราะห์เบื้องต้นวิทยานิพนธ์สาขาการพยาบาลเด็ก.
ทัศนี ประสบกิตติคุณ, อรุณรัตน์ ศรีจันทรนิตย์. (2558).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 33(Suppl1), 7-17.
20) ผลของโปรแกรมการพยาบาลระบบสนับสนุนและให้ความรู้แก่มารดาต่อความรู้ และพฤติกรรมในการดูแลบุตรโรคหัวใจพิการแต่กำเนิดชนิดไม่เขียว อายุ 0-2 ปี.
สาธิมา สงทิพย์, วนิดา เสนะสุทธิพันธุ์, อรุณรัตน์ ศรีจันทรนิตย์. (2558).
วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, 26(2), 25-38.
21) การเปรียบเทียบผลการสอนด้วยสื่อวีดิทัศน์กับภาพพลิกต่อความรู้และความวิตกกังวลของมารดาในการดูแลผู้ป่วยเด็กที่เข้ารับการตรวจสวนหัวใจ.
อรุณรัตน์ ศรีจันทรนิตย์, ปวีณา จึงสมประสงค์, ชดชนก วิจารสรณ์, วิภารัตน์ สุขทองสา, นวลจันทร์ อุดมพงศ์ลักขณา, ชญานี จตุรชัยเดช. (2557).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 32(2), 41-51.
1) ผลของโปรแกรมการพยาบาลระบบสนับสนุนและให้ความรู้ต่อพฤติกรรมการดูแลของผู้ดูแลเด็กสมองพิการ.
ดวงใจ สนิท, อาภาวรรณ หนูคง, ทัศนี ประสบกิตติคุณ, อรุณรัตน์ ศรีจันทรนิตย์. (2558).
วารสารเกื้อการุณย์, 22(1), 60-81.