…การพยาบาลนั้น ไม่ใช่ว่าจะมีประโยชน์แต่การพยาบาลอย่างเดียว
ย่อมเป็นประโยชน์สำหรับบำรุงชาติและบ้านเมืองของเราด้วย…
ชื่อ | รศ.ดร.เอมพร รตินธร |
---|---|
ตำแหน่ง | คณบดีคณะพยาบาลศาสตร์ |
รองศาสตราจารย์ | |
อีเมล | ameporn.rat@mahidol.ac.th |
ที่อยู่ | เลขที่ 2 ถนนวังหลัง แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ 10700 |
โทร | 02-4197466-80 ต่อ 1810 |
University of California at San Francisco
ปริญญาโท: Master of Science degrees in Nursing (M.S.) NursingUniversity of Winconsin Madison
ปริญญาตรี: วิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) พยาบาลและผดุงครรภ์ (เกียรตินิยมอันดับ 2)มหาวิทยาลัยมหิดล
1) การศึกษาผลการจัดการเรียนการสอนภาคปฏิบัติการพยาบาลมารดาทารกและการผดุงครรภ์โดยใช้สถานการณ์เสมือนจริงในนักศึกษาพยาบาล.
เอมพร รตินธร (หัวหน้าโครงการวิจัย).
กองทุน ซี.เอ็ม.บี คณะพยาบาลศาสตร์. 2565.
1) Evaluation of antenatal simulation-based learning on satisfaction and self-confidence levels among Thai undergraduate nursing students during the COVID-19 pandemic: a mixed-method study.
Kuesakul, K., Nuampa, S., Pungbangkadee, R., Ramjan, L., Ratinthorn, A.. (2024).
BMC Nursing, 23(1), 161-0.
2) The health service model for promoting good death in critically ill end-of-life patients in the emergency department: a qualitative study.
Sirivarawuth, T., Utriyaprasit, K., Ratinthorn, A., Tankumpuan, T., Viwatwongkasem, C. (2024).
OMEGA - Journal of Death and Dying, 0, 0-0.
3) “Because it eases my Childbirth Plan”: a qualitative study on factors contributing to preferences for caesarean section in Thailand.
Nuampa, S., Ratinthorn, A., Lumbiganon, P., Rungreangkulkij, S., Rujiraprasert, N., Buaboon, N., et al. (2023).
BMC Pregnancy and Childbirth, 23(1), 280-0.
4) Prevalence and related factors of inappropriate gestational weight gain among pregnant women with overweight/ obesity in Thailand.
Chairat, T., Ratinthorn, A., Limruangrong, P., Boriboonhirunsarn, D. (2023).
BMC Pregnancy and Childbirth, 23(1), 319-0.
5) Contributing factors of birth asphyxia in Thailand: a case–control study.
Rattanaprom, P., Ratinthorn, A., Sindhu, S., Viwatwongkasem, C. (2023).
BMC Pregnancy and Childbirth, 23(1), 584-0.
6) Factors influencing the implementation of labour companionship: formative qualitative research in Thailand.
Rungreangkulkij, S., Ratinthorn, A., Lumbiganon, P., Zahroh, R., Hanson, C., Dumont, A., et al. (2022).
BMJ Open, 12(5), 54-946.
7) Impact of personal and environmental factors affecting exclusive breastfeeding practices in the first six months during the COVID-19 pandemic in Thailand: a mixed-methods approach.
Nuampa, S., Ratinthorn, A., Patil, C., Kuesakul, K., Sirithepmontree, S., Sudphet, M. (2022).
International Breastfeeding Journal, 17, 73-0.
8) Factors influencing exclusive breastfeeding among urban employed mothers: A case-control study.
Tangsuksan, P., Ratinthorn, A., Sindhu, S., Spatz, D., Viwatwongkasem, C. (2020).
Pacific Rim International Journal of Nursing Research, 24(1), 54-72.
9) Maternal and health service predictors of postpartum hemorrhage across 14 district, general and regional hospitals in Thailand.
Prapawichar, P., Ratinthorn, A., Utriyaprasit, K., Viwatwongkasem, C. (2020).
BMC Pregnancy and Childbirth, 20(1), 172-0.
10) The relationship among a palliative care service, patient’s factors, and quality of life of post treatment cervical cancer patients: a causal model approach.
Ngamprasert, M., Utriyaprasit, K., Sindhu, S., Ratinthorn, A., Viwatwongkasem, C.. (2019).
Siriraj Medical Journal, 71(4), 268-277.
11) Factors influencing sexual behaviors among Thai adolescents.
Srijaiwong, S., Sindhu, S., Ratinthorn, A., Viwatwongkasem, C. (2017).
Journal of Population and Social Studies, 25(3), 171-93.
12) Factors associated with the retention in care after delivery among Thai mothers with HIV.
Ratinthorn, A., Chalermpichai T, Sindhu S, Ratanasuwan W, Reynolds N. (2016).
Pacific Rim International Journal of Nursing Research, 20(3), 225-237.
1) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลลัพธ์การเรียนรู้ของนักศึกษาพยาบาลในการดูแลมารดาหลังคลอดและทารกแรกเกิดโดยผ่านการเรียนรู้แบบใช้สถานการณ์เสมือนจริง.
เสาวรส แพงทรัพย์, สุดหทัย ศิริเทพมนตรี, พรนภา ตั้งสุขสันต์, กุลธิดา ทรัพย์สมบูรณ์, เอมพร รตินธร. (2567).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 42(1), 95-110.
2) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการรับบริการฝากครรภ์ของสตรีแรงงานข้ามชาติในเขตกรุงเทพมหานคร.
ไพลิน ฐิติโชติรัตนา, ฤดี ปุงบางกะดี่, เอมพร รตินธร. (2567).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 42(2), 59-72.
3) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการบีบบังคับด้านการเจริญพันธุ์ในสตรีที่มารับบริการในคลินิกวางแผนครอบครัว.
เนตรสุมล จตุรจรรยาเลิศ, เอมพร รตินธร, ฤดี ปุงบางกะดี่. (2566).
วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย, 15(3), 73-86.
4) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนผ่านการเป็นมารดาในสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่น.
ณัฐธนาฒย์ เมฆาวรรณ์, วรรณา พาหุวัฒนกร, เอมพร รตินธร. (2566).
วารสารพยาบาลตำรวจ, 15(2), 307-318.
5) ผลของการจัดท่าคลอดกึ่งนั่งยองร่วมกับวิธีการเบ่งคลอดแบบธรรมชาติต่อเวลาในระยะที่สองของการคลอด และระดับการฉีกขาดของฝีเย็บในผู้คลอดครรภ์แรก.
ปัญชลิกา วีระเดช, เอมพร รตินธร, ฤดี ปุงบางกะดี่. (2565).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 40(1), 69-83.
6) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความเครียดจากภาวะมีบุตรยากในสตรีที่มีบุตรยาก.
ดารินทร์ ศรีชุม, เอมพร รตินธร, ฤดี ปุงบางกะดี่. (2564).
วารสารพยาบาลทหารบก, 22(3), 453-461.
7) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความรอบรู้ด้านสุขภาพมารดาในสตรีตั้งครรภ์.
สินีนาท วราโภค, เอมพร รตินธร, ปิยะนันท์ ลิมเรืองรอง. (2563).
วารสารสภาการพยาบาล, 35(1), 86-98.
8) Mahidol Model: Integrative, Area-based, Prevention and Alleviation of Teenage Pregnancy.
สุวรรณา เรืองกาญจนเศรษฐ์, จิราภรณ์ อรุณากูร, ธีรนงค์ สกุลศรี, พัชรินทร์ เสรี, เอมพร รตินธร, อาภา ภัคภิญโญ, และคณะ, ฤดี ปุงบางกะดี่. (2563).
วารสารวิชาการสาธารณสุข, 29(1), 76-90.
9) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการแสวงหาข้อมูลด้านสุขภาพของสตรีตั้งครรภ์.
ปวีณา สุรินทร์ประทีป, เอมพร รตินธร, ปิยะนันท์ ลิมเรืองรอง. (2562).
วารสารสภาการพยาบาล, 34(4), 95-107.
10) ปัจจัยทำนายการเกิดทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยในสตรีตั้งครรภ์ที่ฝากครรภ์วัยรุ่น.
ปิยาภรณ์ ล่าฟ้าเริงรณ, เอมพร รตินธร, ฤดี ปุงบางกะดี่, ภัทรวลัย ตลึงจิตร. (2561).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 36(2), 30-41.
11) ตัวแบบบูรณาการงานป้องกันและแก้ไขการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น: ความหมายและการดำเนินการ.
ศิริพร จิรวัฒน์กุล, วารุณี ฟองแก้ว, สมพร รุ่งเรืองกลกิจ, อทิตยา พรชัยเกตุ โอว ยอง, อัจฉราพร สี่หิรัญวงศ์, เอมพร รตินธร, และคณะ. (2560).
วารสารสภาการพยาบาล, 32(3), 5-24.
12) ปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูก ระยะเริ่มต้นหลังได้รับการรักษา.
ชลธิรา เจริญเวช, ศิริอร สินธุ, เอมพร รตินธร. (2560).
วารสารพยาบาลทหารบก, 18(sup), 232-238.
13) ผลของการให้การปรึกษาเพื่อสร้างแรงจูงใจต่อการใช้การคุมกำเนิดระยะยาวในสตรีตั้งครรภ์วัยรุ่น: การศึกษานำร่อง.
เอมพร รตินธร, กรรณิการ์ แสงประจง, วรรณา พาหุวัฒนกร. (2559).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 34(suppl1), 28-39.
14) ปัจจัยทำนายการคุมกำเนิดของมารดาวัยรุ่นที่มีบุตรคนแรก ในระยะหลังคลอด.
นาฏนฤมล ทองมี, เอมพร รตินธร, ปิยะนันท์ ลิมเรืองรอง. (2558).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 33(1), 51-59.
15) ผลของการกดจุด LI4 และ BL32 ต่อความเจ็บปวดในระยะที่หนึ่งของการคลอดในผู้คลอดครรภ์แรก.
ดาว แดงดี, เอมพร รตินธร, ฉวีวรรณ อยู่สำราญ, สมชัย โกวิทเจริญกุล. (2558).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 33(4), 15-26.
16) ปัจจัยทำนายความวิตกกังวลในสตรีที่ได้รับการวินิจฉัยเบาหวานครั้งแรกขณะตั้งครรภ์.
อมรรัตน์ ผาละศรี, วรรณา พาหุวัฒนกร, เอมพร รตินธร. (2558).
วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ, 33(2), 15-22.
17) ปัจจัยและผลกระทบจากการตั้งครรภ์ซ้ำของสตรีวัยรุ่นไทย: กรณีศึกษาในกรุงเทพมหานคร.
ฤดี ปุงบางกะดี่, เอมพร รตินธร. (2557).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 32(2), 23-31.
18) ผลของการใช้ความเย็นและความร้อนต่อการอักเสบและความเจ็บปวดของแผลฝีเย็บในมารดาหลังคลอด.
ทิพย์วรรณ จันทร์มณี, ฉวีวรรณ อยู่สำราญ, เอมพร รตินธร, วรรณา พาหุวัฒนกร. (2557).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 32(4), 25-34.
19) ปัจจัยเสี่ยงที่มีความสัมพันธ์กับภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์.
สุชาดา เตชวาทกุล, เอมพร รตินธร, ฉวีวรรณ อยู่สำราญ, ดิฐกานต์ บริบูรณ์หิรัญสาร. (2557).
วารสารพยาบาลศาสตร์, 32(1), 61-70.
20) ผลของโปรแกรมการดูแลสตรีตั้งครรภ์ที่เสี่ยงต่อภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนดต่ออัตราการเกิดภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนดและอัตราการคลอดก่อนกำหนด.
สุพัตรา ปิ่นแก้ว, เอมพร รตินธร, เยาวลักษณ์ เสรีเสถียร, วิบูลย์ เรืองชัยนิคม. (2557).
วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 22(4), 58-71.
1) ผลของดนตรีร่วมกับการสร้างจินตภาพต่อความเจ็บปวดและพฤติกรรมการเผชิญความเจ็บปวดในระยะที่ 1 ของการคลอดในผู้คลอดครรภ์แรก.
นันธิดา วัดยิ้ม, เอมพร รตินธร, วรรณา พาหุวัฒนกร, เอกชัย โควาวิสารัช. (2557).
วารสารสภาการพยาบาล, 29(1), 95-107.